Page 103 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 103
สมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงก็ทรงแก้ไขประเพณีอันให้ผลร้ายอันนี้แล้ว. และทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ราษฎรได้มีโอกาสแลเห็นพระองค์แลเฝ้าใกล้ๆ ได้, ราษฎร จึ่งมาเกิดรู้สึกรักใคร่, ซึ่งมิได้เคยรู้สึกต่อพระเจ้าแผ่นดินช้านานมาแล้ว. เม่ือเสด็จ สวรรคตลงราษฎรจ่ึงมีความโศกเศร้าจริงๆ ทั่วถึงกัน...” และตอนท้ายรัชกาลที่ ๖ ทรงชมว่า “นี่แหละจะไม่ให้ชมว่าท่านฉลาดหรือ” (พระบําทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ํา เจ้ําอยู่หัว ๒๕๕๕: ๗๕-๗๖)
3
นอกจํากนี้ได้มีข้ํารําชกํารและพ่อค้ํามําจัดน้ําดื่ม และยําบริกํารประชําชนที่มํากรําบถวําย บังคมพระศพ คือ พระสุนทรพิมล (เผล่ วสุวัต) (ภํายหลังได้เลื่อนบรรดําศักด์ิเป็นพระยํา) รับเล้ียง นํา้ ชําหวํานเยน็ และไอศกรมี พระยําพศิ ณปุ ระสําทเวช พระพนิ จิ โภคํากร หลวงรําชนธิ พิ์ มิ ล รบั เลยี้ ง ยําหอมยําลมต่ํางๆ จีนกิมบุตรพระยําพิศําลบุตร (ชื่น) รับเลี้ยงน้ําชําน้ําเย็น (ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๒๗, ๒๔๕๓: ๑๘๔๔) ตลอดจนยํานพําหนะคือ หลวงดํารงธรรมสําร (มี ธรรมําชีวะ) ซึ่งทําธุรกิจ ให้เช่ํารถยนต์ ได้จัดรถยนต์ ๔ คัน รับส่งรําษฎรระหว่ํางพระบรมมหํารําชวัง และนํายบุญรอด (ภํายหลงั รบั พระรําชทํานบรรดําศกั ดเิ์ ปน็ พระยําภริ มยภ์ กั ด)ี ซง่ึ ในเวลํานนั้ ทํา ธรุ กจิ เรอื ยนตโ์ ดยสําร จัดเรือรับ-ส่งประชําชนจํากตลําดพลูถึงท่ํารําชวรดิษฐ์โดยไม่คิดค่ําโดยสําร (ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๒๗, ๒๔๕๓: ๑๙๗๐)
ธรรมเนียมกํารสรงน้ําพระบรมศพพระมหํากษัตริย์ของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันได้มี สบื ทอดขนบธรรมเนยี มทมี่ มี ําของรําชสํา นกั ตง้ั แตค่ รงั้ กรงุ ศรอี ยธุ ยํา อกี ทงั้ ยงั คงมรี อ่ งรอยวฒั นธรรม ที่พัฒนําจํากยุคก่อนประวัติศําสตร์หลงเหลืออยู่ดังเช่นกํารประโคมมโหระทึกเฉพําะพระบรมศพ พระมหํากษัตริย์ หรือกํารลงพระโกศ ในขณะเดียวกันก็มีกํารเปลี่ยนแปลงตํามสภําพสังคมที่สําคัญ คอื กํารทที่ ํางรําชสํา นกั ไดอ้ นญุ ําตใหป้ ระชําชนสํามํารถเขํา้ สรงนํา้ พระบรมศพหรอื กํารเขํา้ เฝํา้ ถวําย บงั คมพระบรมศพบนพระทนี่ งั่ ดสุ ติ มหําปรําสําทได้ สงิ่ นแี้ สดงใหเ้ หน็ ถงึ ควํามใกลช้ ดิ ระหวํา่ งสถําบนั พระมหํากษัตริย์กับประชําชน สมดังบทพระรําชนิพนธ์เรื่องลิลิตนิทรําชําคริต ควํามตอนหน่ึงว่ํา “ทวยรําษฎร์รักบําทแม้ ยิ่งด้วยบิตุรงค์”
ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๑๐๑
เสด็จสู่แดนสรวง