Page 110 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 110
มุขใต้ เป็นที่ตั้งพระแท่นรําชบัลลังก์ประจําพระมหําปรําสําทนี้ เป็นพระแท่นประดับมุก ภํายใตพ้ ระนพปฎลมหําเศวตฉตั ร ฝมี อื ชํา่ งสมยั รชั กําลที่ ๑ โดยมโี ตะ๊ หมบู่ ชู ําบนพระแทน่ รําชบลั ลงั กน์ ี้ ซ่ึงประดิษฐํานพระพุทธรูปประจําพระชนมวํารของรัชกําลที่ ๙ เป็นปํางห้ํามญําติเชิญมําจํากหอ พระสรุ ําลยั พมิ ําน ทส่ี มี่ มุ พระแทน่ รําชบลั ลงั กต์ ง้ั ตน้ ไมเ้ งนิ และตน้ ไมท้ องอยํา่ งละคู่ เบอื้ งหนํา้ พระแทน่ รําชบัลลังก์ต้ังเครื่องนมัสกําร สําหรับทรงจุดเพื่อบูชําพระรัตนตรัย เบ้ืองหลังพระแท่นรําชบัลลังก์ จดั เปน็ ทปี่ ระทบั สํา หรบั สมเดจ็ พระเทพรตั นรําชสดุ ํา สยํามบรมรําชกมุ ํารี และเหลํา่ พระบรมวงศํานวุ งศ์
มขุ ตะวนั ออก ทผ่ี นงั ทํางฝง่ั ดํา้ นใต้ ทอดพระรําชอําสนบ์ นพระสจุ หนพี่ รอ้ มเครอื่ งรําชปู โภค สํา หรบั สมเดจ็ พระเจํา้ อยหู่ วั และตงั้ เกํา้ อส้ี ํา หรบั ขํา้ รําชบรพิ ํารในพระองคแ์ ละรําชองครกั ษผ์ ตู้ ํามเสดจ็ ที่ปลํายสุดของมุขตะวันออกตรงระหว่ํางพระทวําร มีพระแท่นรําชบรรจถรณ์ประดับมุก ฝีมือช่ําง ยคุ เดยี วกบั พระรําชบลั ลงั กป์ ระดบั มกุ พระแทน่ นมี้ หี ลงั คําผํา้ ขําวมรี ะบํายขลบิ ทองดําดขํา้ งบน จดั เปน็ ที่สําหรับพระภิกษุเปรียญข้ึนนั่งสวดธรรมคําถําหลังจบกํารถวํายพระธรรมเทศนํา ส่วนผนังทําง ฝั่งด้ํานเหนือ ตั้งอําสน์สงฆ์ยกพ้ืนปูลําดผ้ําขําวตลอด สําหรับพระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์ขึ้นนั่งสวด พระพุทธมนต์และสดับปกรณ์ ที่หัวอําสน์สงฆ์ฝั่งตรงข้ํามพระรําชอําสน์ของสมเด็จพระเจ้ําอยู่หัว ตั้ง ธรรมําสนแ์ บบสปั คบั ลงรกั ปดิ ทองประดบั กระจก สํา หรบั พระรําชําคณะขน้ึ นงั่ แสดงพระธรรมเทศนํา
มขุ เหนอื ทรี่ มิ ผนงั ใกลพ้ ระทวํารทํางเขํา้ ออกทง้ั ซํา้ ยขวํา ตงั้ แทน่ ไมส้ ลกั ลงรกั ปดิ ทอง มหี ลงั คํา ผํา้ ขําวดําดดํา้ นบน ภํายในปลู ําดผํา้ ขําวมหี มอนองิ ตงั้ หบี พระธรรมปกั พดั แฉก เตยี งดงั กลํา่ วนจี้ ดั ไว้ เป็นอําสน์สงฆ์สําหรับพระพิธีธรรมจํากพระอํารํามท่ีกําหนด ขึ้นนั่งสวดพระอภิธรรมทั้งกลํางวัน กลํางคนื พื้นที่ตรงกลํางมุขเหนือนี้ตั้งเก้ําอี้เรียงเป็นแถวสําหรับองคมนตรี ข้ํารําชกํารช้ันผู้ใหญ่และ ผู้มําเฝ้ําทูลละอองธุลีพระบําทในกํารบําเพ็ญพระรําชกุศล
แม้ว่ําพระท่ีนั่งแห่งนี้จะเป็นสถํานที่ประดิษฐํานพระบรมศพพระมหํากษัตริย์มําแทบทุก รัชกําล รวมถึงพระศพพระบรมวงศํานุวงศ์ชั้นสูงบํางพระองค์ แต่กํารตั้งแต่งสําหรับงํานพระรําชพิธี พระบรมศพในอดีตน้ันก็มีควํามแตกต่ํางไปตํามกําลสมัย ดังจะกล่ําวโดยสรุปได้ดังนี้
ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น แม้ว่ําจะไม่ปรํากฏหลักฐํานหมํายกําหนดกํารพระรําชพิธี โดยละเอยี ดกต็ ําม แตจ่ ํากหลกั ฐํานเอกสํารบํางชนิ้ โดยเฉพําะอยํา่ งยง่ิ จดหมายเหตรุ ชั กาลที่ ๓ ทก่ี ลํา่ ว ถงึ กํารพระรําชพธิ พี ระบรมศพพระบําทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลํา้ นภําลยั เมอื่ พ.ศ.๒๓๖๗ กท็ ํา ใหเ้ หน็ ภําพ กํารตงั้ แตง่ ในพระรําชพธิ ขี องยคุ สมยั นนั้ ได้ กลํา่ วคอื มกี ํารตง้ั พระแทน่ แวน่ ฟํา้ ทองคํา ๓ ชนั้ ประดษิ ฐําน พระโกศพระบรมศพทมี่ ขุ ตะวนั ตก เหนอื พระโกศแขวนเศวตฉตั ร ๙ ชนั้ ฝง่ั ดํา้ นใตข้ องพระแทน่ แวน่ ฟํา้ ตงั้ เครอ่ื งนมสั กํารสํา หรบั พระเจํา้ อยหู่ วั สว่ นฝง่ั ดํา้ นเหนอื นน้ั ตง้ั เครอ่ื งนมสั กํารสํา หรบั กรมพระรําชวงั บวร (วังหน้ํา) มีกํารต้ังเตียงจมูกสิงห์เพื่อทอดเคร่ืองรําชูปโภคนับร้อยรํายกําร บริเวณโดยรอบพระแท่น แว่นฟ้ํามีกํารตั้งเครื่องสูงหักทองขวํางแวดล้อมถึง ๒๘ องค์ พื้นที่มุขตะวันตกนี้มีกํารกั้นพระฉําก กระจกเรอ่ื งสํามกก๊ ชอ่ งกลํางทํางเสดจ็ ตง้ั ลบั แลกระจก มขุ ดํา้ นทศิ ใตม้ กี ํารกนั้ ฉํากกระจกไวช้ อ่ งกลําง ทํางเสด็จของเจ้ํานํายฝ่ํายใน ที่มุขด้ํานทิศเหนือมีกํารตั้งเตียงพระสวดมีสําหรับพระพิธีธรรมขึ้นน่ัง สวดพระอภิธรรม ส่วนพระแท่นรําชบัลลังก์ประดับมุกใจกลํางพระมหําปรําสําทนั้นจัดเป็นธรรมําสน์ สําหรับพระสงฆ์ขึ้นแสดงพระธรรมเทศนํา (ยิ้ม ปัณฑยํางกูร ๒๕๒๘: ๑๔๕-๑๔๙)
เสด็จสู่แดนสรวง
๑๐๘ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ