Page 112 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 112
พระโกศทองใหญ่ 3 รัชกาล ภายใต้นพปฎลมหาเศวตฉัตร
พระโกศ เป็นเครื่องประกอบพระรําชอิสริยยศที่สําคัญของพระมหํากษัตริย์และพระบรม วงศํานวุ งศเ์ มอื่ เสดจ็ สวรรคตหรอื สน้ิ พระชนมแ์ ลว้ สรํา้ งขนึ้ ดว้ ยวสั ดมุ คี ํา่ และฝมี อื ชํา่ งทป่ี ระณตี ใชส้ ํา หรบั ประดิษฐํานพระบรมศพหรือพระศพ
สมเด็จพระเจ้ําบรมวงศ์เธอ กรมพระยําดํารงรําชํานุภําพ (๒๕๐๔ก: ๓๑๙-๓๒๐) ทรงมี พระวินิจฉัยเกี่ยวกับกํารใช้โกศหรือพระโกศว่ํา มีต้นเค้ํามําจํากคติศําสนําพรําหมณ์ที่เชื่อว่ําเมื่อ พระเจํา้ แผน่ ดนิ สวรรคต ดวงพระวญิ ญําณกจ็ ะกลบั ไปรวมกบั เทพเจํา้ องคน์ นั้ ๆ แตพ่ ระสรรี ะยงั คงอยู่ บนโลกจึงต้องปฏิบัติอย่ํางเทพเจ้ําที่ประทับในวิมํานบนยอดเขําพระสุเมรุ จึงทําที่บรรจุพระบรมศพ เป็นพระโกศแทนวิมํานและฐํานซ้อนชั้นรองรับพระโกศแทนภูเขํา
ขณะเดียวกันก็มีข้อสันนิษฐํานเชิงโบรําณคดีว่ํา กํารบรรจุศพในภําชนะที่เป็นไหหินหรือ ไหดนิ เผําในภมู ภิ ําคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ มมี ําตง้ั แตส่ มยั กอ่ นประวตั ศิ ําสตรร์ ําว ๓,๐๐๐ ปมี ําแลว้ ดังปรํากฏในแหล่งโบรําณคดีทุ่งไหหินในลําว แหล่งโบรําณคดีในเขตทุ่งกุลําร้องไห้ของไทย เป็นต้น ซงึ่ อําจเปน็ ตน้ เคํา้ ทมี่ ําอกี ทํางหนงึ่ ของคตกิ ํารใชพ้ ระโกศไดเ้ ชน่ กนั (สจุ ติ ต์ วงษเ์ ทศ ๒๕๕๑: ๑๕-๑๖) สําหรับหลักฐํานกํารใช้พระโกศบรรจุพระบรมศพในธรรมเนียมรําชสํานักนั้น มีมําแล้วต้ังแต่สมัย อยธุ ยํา ดงั ทปี่ รํากฏในเอกสํารโบรําณชอื่ วํา่ “เรอื่ งสมเดจ็ พระบรมศพ” ทก่ี ลํา่ วถงึ งํานพระเมรสุ มเดจ็ เจํา้ ฟํา้ กรมหลวงโยธําเทพ เมอ่ื พ.ศ.๒๒๗๘ (พระบําทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลํา้ เจํา้ อยหู่ วั , ๒๔๕๙: ๖)
ตํามโบรําณรําชประเพณีในสมัยรัตนโกสินทร์ เมื่อพระมหํากษัตริย์สวรรคต จะถวําย พระมหําสุกําพระบรมศพโดยเจ้ําพนักงํานภูษํามําลํา (สํานักวรรณกรรมและประวัติศําสตร์ ๒๕๕๙: ๑๓) จํากนั้นอัญเชิญพระบรมศพลงสู่ภําชนะช้ันในเรียกว่ํา “พระลอง” โดยจัดท่ําทํางพระบรมศพให้ อยู่ในท่ํานั่ง เมื่อปิดฝําก็จะนําส่วนครอบภําชนะชั้นนอกคือ “พระโกศ” ครอบตัวพระลอง (แสงสูรย์ ลดําวัลย์ ๒๕๓๙: ๕๓-๕๔) ซึ่งพระโกศทรงพระบรมศพพระมหํากษัตริย์จะมีกํารประดับตกแต่ง ท่ีมํากกว่ําพระโกศของพระบรมวงศํานุวงศ์เสมอ มีชื่อเรียกว่ํา “พระโกศทองใหญ่” ในปัจจุบันมี พระโกศทองใหญอ่ ยถู่ งึ ๓ องค์ (คณะกรรมกํารฝํา่ ยจดั ทํา จดหมํายเหตฯุ ๒๕๕๑: ๑๙๑) มรี ํายละเอยี ด ดังน้ี
พระโกศทองใหญ่ รชั กาลท่ี ๑ พระบําทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟํา้ จฬุ ําโลกมหํารําช โปรดให้ สรํา้ งขนึ้ เมอื่ พ.ศ. ๒๓๕๑ ลกั ษณะของพระโกศทองใหญอ่ งคน์ เี้ ปน็ ทรงแปดเหลย่ี มปํากผําย ฝําทํา เปน็ ยอดทรงมงกุฎ หุ้มทองคําจําหลักลํายดุนทั้งองค์ ประดับด้วยรัตนชําติหลํากสี มีควํามงดงํามมําก ถึงขนําดโปรดให้ยกพระโกศน้ีไปต้ังถวํายให้ทอดพระเนตรในห้องพระบรรทม ซึ่งในปีที่สร้ํางนั้น สมเด็จพระเจ้ําลูกเธอ เจ้ําฟ้ํากรมหลวงศรีสุนทรเทพก็สิ้นพระชนม์ จึงได้ใช้เป็นครั้งแรก และใน พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้ใช้ในริ้วกระบวนพระรําชอิสริยยศอัญเชิญพระศพ สมเด็จพระเจ้ําพี่นํางเธอ เจ้ําฟ้ํากัลยํา ณิวัฒนํา กรมหลวงนรําธิวําสรําชนครินทร์
พระโกศทองใหญ่ รชั กาลที่ ๕ พระบําทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลํา้ เจํา้ อยหู่ วั โปรดใหส้ รํา้ งขน้ึ เมอื่ พ.ศ. ๒๔๔๓ เปน็ พระโกศหมุ้ ดว้ ยทองคํา ซง่ึ มลี กั ษณะคลํา้ ยกนั กบั พระโกศทองใหญใ่ นรชั กําลที่ ๑ หํากแตข่ องรชั กําลที่ ๕ นป้ี ระดบั ดว้ ยรตั นชําตสิ ขี ําวทงั้ องค์ เมอื่ แรกสรํา้ งเรยี กวํา่ “พระโกศทองรองทรง”
เสด็จสู่แดนสรวง
๑๑๐ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ