Page 114 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 114
เมื่องํานพระบรมศพสมเด็จพระศรีนครินทรําบรมรําชชนนี พ.ศ.๒๕๓๘ และกลํายเป็นจํารีตปฏิบัติ ตอ่ มํา โดยเปน็ ไปตํามพระรําชประสงคส์ ว่ นพระองคเ์ ปน็ หลกั (สมเดจ็ พระเจํา้ พนี่ ํางเธอ เจํา้ ฟํา้ กลั ยํา ณิวัฒนําฯ ๒๕๓๙: ๖๗)
ยังมีอีกสิ่งหน่ึงที่เป็นเครื่องแสดงพระบรมรําชอิสริยยศสําคัญนั่นคือ “ฉัตร” ซ่ึงเป็นร่ม ซ้อนชั้นลดหล่ันมํากน้อยตํามศักดิ์ของผู้ทรงเป็นเจ้ําของ หํากเป็นพระมหํากษัตริย์ผู้ผ่ําน กํารบรมรําชําภเิ ษกตํามโบรําณรําชประเพณี ตอ้ งมกี ํารถวําย “นพปฎลมหําเศวตฉตั ร” ซงึ่ มลี กั ษณะ คล้ํายฉัตรท่ีปักอยู่เหนือพระแท่นรําชบัลลังก์คือ เป็นฉัตรสีขําวเรียงซ้อนลดหลั่นกัน ๙ ช้ัน แต่ละชั้น มรี ะบํายขลบิ ทอง๓ชน้ั ฉตั รชน้ั ลํา่ งสดุ หอ้ ยอบุ ะจํา ปําทองสง่ิ ทแ่ี ตกตํา่ งออกไปคอื นพปฎลมหําเศวตฉตั ร เหนอื พระโกศทองใหญน่ ี้ เปน็ ฉตั รแบบแขวนหอ้ ยจํากเพดํานพระมหําปรําสําท จงึ ไมม่ เี สําคนั ฉตั รและ ไม่มีรูปเทวดํารักษํากําภูฉัตรอย่ํางที่พระแท่นรําชบัลลังก์
ใน จดหมายเหตรุ ชั กาลที่ ๓ เรอื่ งพระรําชพธิ พี ระบรมศพรชั กําลท่ี ๒ ไดใ้ ช้ “เศวตฉตั ร ๙ ชน้ั ทํา ดว้ ยโหมดเหลอื งกนั้ พระบรมโกศ” (ยมิ้ ปณั ฑยํางกรู ๒๕๒๘: ๑๔๖) เนอื่ งจํากในเวลํานนั้ เศวตฉตั ร อําจทําด้วยผ้ําสีอื่นไม่ต้องเป็นสีขําวเสมอไป ทําให้รัชกําลท่ี ๔ โปรดเกล้ํา ให้เปล่ียนเป็นกํารหุ้ม ผ้ําสีขําว เพ่ือให้ตรงกับควํามหมํายคําว่ํา “เศวต” ที่แปลว่ํา “สีขําว” (สมเด็จกรมพระยําดํารง รําชํานุภําพ ๒๕๐๔ข: ๒๑๘) สําหรับในพระรําชพิธีพระบรมศพรัชกําลที่ ๙ น้ี นพปฎลมหําเศวตฉัตร เป็นของท่ีสร้ํางข้ึนใหม่ทันทีเป็นกํารเฉพําะ ภํายหลังกํารประกําศสวรรคต
พระแท่นแว่นฟ้าทองและสุวรรณเบญจดล: พระแท่นรองรับพระโกศ
พระแท่นสูงใหญ่สีทองวํางซ้อนเป็นชั้นอันเป็นที่ประดิษฐํานพระโกศทรงพระบรมศพ มีชื่อเรียกเป็น ๒ แบบ คือ “พระแท่นแว่นฟ้ําทอง” และ “พระแท่นสุวรรณเบญจดล”
คําว่ํา “พระแท่นแว่นฟ้ําทอง” มีปรํากฏเอกสํารมําต้ังแต่ต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ซ่ึงบํางครั้ง อําจจะสะกดคําแตกต่ํางกันไปบ้ํางเล็กน้อย เช่น “พระแท่นแว่นฟ้ํา” หรือ “แว่นฟ้ําทองคํา ๓ ช้ัน” (ยิ้ม ปัณฑยํางกูร ๒๕๒๘: ๑๔๖; ราชกิจจานุเบกษา ๒๔๓๗: ๓๓๕) สําหรับ คําว่ํา “แว่นฟ้ํา” ตําม รปู ศพั ทห์ มํายถงึ กระจก (สมเดจ็ ฯ เจํา้ ฟํา้ กรมพระยํานรศิ รํานวุ ดั ตวิ งศ์ ๒๕๐๕: ๒๓๔) ดงั นน้ั พระแทน่ แว่นฟ้ําทอง อําจแปลควํามหมํายได้ว่ํา พระแท่นไม้แกะสลักลงรักปิดทองประดับกระจก อีกนัยหน่ึง คําว่ํา แว่นฟ้ํา ในทํางศิลปกรรมยังหมํายถึง แท่นฐํานตั้งเสริมบนแท่นซ้อนเป็นชั้นเพื่อให้ได้ควํามสูง ที่เหมําะสม โดยเรียกรวมๆ ทั้งแท่นเดิมกับแท่นเสริมว่ํา “ฐํานแว่นฟ้ํา” (สันติ เล็กสุขุม ๒๕๓๘: ๓๙) ซงึ่ ควํามหมํายนกี้ ส็ อดคลอ้ งกบั ลกั ษณะของพระแทน่ ทต่ี ง้ั เรยี งซอ้ นสงู ลดหลนั่ กนั เปน็ ชน้ั ๆ ทตี่ กแตง่ ด้วยกํารหุ้มทองคํา (พระยําเทวําธิรําช ๒๕๐๔: ๒๐)
ส่วนคําว่ํา “พระแท่นสุวรรณเบญจดล” เร่ิมปรํากฏกํารใช้ครั้งแรกเมื่อครั้งพระรําชพิธี พระบรมศพรัชกําลที่ ๖ โดยเขียนระบุไว้ว่ํา “พระแท่นแว่นฟ้ําสุวรรณเบญจฎล” (ราชกิจจานุเบกษา ๒๔๖๙: ๒๑๒) ซึ่งมีรํากมําจํากกํารใช้คําเดิมที่มีมําก่อนคือ “พระแท่นแว่นฟ้ํา” แล้วประกอบต่อท้ําย ดว้ ยคํา ใหมว่ ํา่ “สวุ รรณเบญจฎล” ซงึ่ คํา นอี้ ําจแปลไดว้ ํา่ พระแทน่ หมุ้ ทองคํา เรยี งซอ้ นกนั ๕ ชนั้ เพอื่ เรยี กรวมพระแทน่ ทงั้ สอง และหลงั จํากนนั้ เปน็ ตน้ มํา ในเอกสํารทํางกํารจะใชค้ ํา วํา่ “พระแทน่ สวุ รรณ เบญจดล” กระทั่งถึงงํานพระบรมศพครั้งนี้ด้วย (ข่าวสด ๒๕๕๙ข)
เสด็จสู่แดนสรวง
๑๑๒ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ