Page 115 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 115

พระบรมศพรัชกําลท่ี ๘ ประดิษฐํานบนพระแท่นสุวรรณเบญจดลประดับด้วยนรสิงห์แบก (Source: Dmitri Kessel 1950)
พระแท่นสุวรรณเบญจดลคือ เขาพระสุเมรุจาลอง
พระแทน่ สวุ รรณเบญจดลสอื่ ควํามหมํายวํา่ เปรยี บเสมอื นเขําพระสเุ มรอุ นั มเี ทพเจํา้ ประทบั อยู่เบ้ืองบน (พระวรวงศ์เธอ กรมหม่ืนพิทยลําภพฤฒิยํากร ๒๕๑๗: ๑๒๓) ดังนั้น จึงต้องประดับ ตกแตง่ ใหส้ มกบั ทเ่ี ปน็ รปู จํา ลองเขําพระสเุ มรุ ในจดหมายเหตรุ ชั กาลท่ี ๓ เรอื่ งพระรําชพธิ พี ระบรมศพ พระบําทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ํานภําลัย พ.ศ.๒๓๖๗ อธิบํายกํารประดับตกแต่งไว้ว่ํา พระแท่น แตล่ ะชนั้ ประดบั ดว้ ยเครอื่ งแกว้ เจยี รนยั จํา นวนมําก ทงั้ เชงิ เทยี นแกว้ โคมแกว้ หลํายรปู แบบ จํานแกว้ ใส่เครื่องบูชํา โอ่งแก้วใส่น้ํามันเพื่อจุดประทีปทั้งกลํางวันและกลํางคืน (ยิ้ม ปัณฑยํางกูร ๒๕๒๘: ๑๔๖) นอกจํากน้ียังมีส่วนองค์ประกอบที่สําคัญท่ีบ่งบอกถึงคติเขําพระเมรุ คือ
๑. รูปนรสิงห์แบก เป็นประติมํากรรมครึ่งมนุษย์ครึ่งสิงห์ทําจํากไม้แกะสลักลงรักปิดทอง ระบํายสี รูปนั่งย่อขํากํางแขนออกในลักษณะกําลังแบก ประดับในช่องคูหําของพระแท่นทองทรําย ทุกด้ําน แต่ละด้ํานประกอบด้วยรูปนรสิงห์ขนําดใหญ่ ๑ ตัว ในคูหํากลํางและมีนรสิงห์ขนําดย่อม อีก ๒ ตัวในคูหําด้ํานข้ําง รูป นรสิงห์แบกน้ีสันนิษฐํานว่ําสร้ํางข้ึนในสมัยรัชกําลท่ี ๖ โดยเทียบเคียง ได้กับนรสิงห์แบกท่ีฐํานพระที่นั่งภัทรบิฐมนังคศิลํารัตนสิงหําสน์ ซึ่งรัชกําลที่ ๖ โปรดให้ตกแต่ง แผ่นศิลําพระแท่นมนังคศิลําอําสน์ และใช้เป็นพระรําชบัลลังก์ประจําพระท่ีน่ังดุสิตมหําปรําสําท ตลอดรัชกําล (จม่ืนอมรดรุณํารักษ์ ๒๕๑๔: ๑๐) ถือเป็นท่ีประทับเฉพําะองค์พระมหํากษัตริย์เท่ํานั้น ดงั ปรํากฏใชค้ รงั้ แรก เมอ่ื ครําวงํานพระบรมศพรชั กําลที่ ๘ และมธี รรมเนยี มปฏบิ ตั วิ ํา่ หํากใชพ้ ระแทน่
4
ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๑๑3
เสด็จสู่แดนสรวง


































































































   113   114   115   116   117