Page 116 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 116
ทองทรํายนี้ในงํานพระศพพระบรมวงศํานุวงศ์ที่มิใช่พระมหํากษัตริย์ ต้องถอดรูปนรสิงห์ออกแล้ว ใช้พํานพุ่มเข้ําประดับแทน (กองจดหมํายเหตุแห่งชําติ ๒๕๔๑: ๖๘)
๒. รปู หนา้ กาลคายพระภษู าโยงและแผงรวั้ ราชวตั ร สรํา้ งขน้ึ ในสมยั รชั กําลที่ ๖ ปรํากฏ ใช้เพียงครั้งเดียวในงํานพระบรมศพสมเด็จพระศรีพัชรินทรําบรมรําชินีนําถ พระบรมรําชชนนี พันปีหลวง พ.ศ.๒๔๖๒ ดังน้ัน ในงํานพระบรมศพรัชกําลท่ี ๙ จึงเป็นครั้งที่ ๒ ท่ีนํารูปหน้ํากําล ดงั กลํา่ วมําประดบั พระแทน่ ทองทรําย หลงั จํากไมไ่ ดใ้ ชเ้ ลยมําเปน็ เวลําเกอื บ ๑๐๐ ปี สํา หรบั คตเิ รอื่ ง หน้ํากําลน้ีมีควํามหมํายสื่อถึง กําลเวลํา ซึ่งกลืนกินทุกสรรพส่ิง เช่นเดียวกับตัวหน้ํากําลเอง ซึ่งเป็น สัตว์ที่เหลือแต่เพียงใบหน้ําไม่มีร่ํางกําย (พลอยชมพู ยํามะเพวัน ๒๕๕๔: ๑๐) สอดคล้องกับหลัก ไตรลกั ษณใ์ นพทุ ธศําสนําทที่ กุ สงิ่ ยอ่ มเปลย่ี นแปลงไปตํามกําลเวลํา ไมม่ สี งิ่ ใดคงทนจรี งั ยงั่ ยนื ในทนี่ ้ี อําจแปลควํามได้ว่ําแม้แต่พระมหํากษัตริย์ผู้ทรงไว้ซ่ึงพระบรมเดชํานุภําพ ก็มิอําจหลีกเล่ียงกฎ ของไตรลักษณ์ได้
๓. สุวรรณจามร เป็นแผ่นโลหะดุนลํายปิดทองประดับกระจกรูปร่ํางทรงพุ่มปลํายแหลม ปักประดับท่ีด้ํานหลังแผงร้ัวรําชวัตรทุกด้ําน พบหลักฐํานว่ํามีใช้อย่ํางน้อยตั้งแต่สมัยรัชกําลที่ ๕ เม่ือครั้งงํานพระบรมศพรัชกําลที่ ๕ และสมเด็จพระศรีพัชรินทรําบรมรําชินีนําถฯ ซึ่งหลังจํากสมัย รัชกําลที่ ๖ เป็นต้นมําก็ไม่ปรํากฏกํารใช้อีกเลย จนกระทั่งมีกํารรื้อฟื้นอีกครั้งในงํานพระบรมศพ รัชกําลท่ี ๙ ในครั้งนี้
ควํามจรงิ แลว้ สวุ รรณจํามรชดุ นเี้ ปน็ ของชดุ เดยี วกนั กบั สวุ รรณฉตั รและสวุ รรณฉตั รคนั ดําล ซึ่งสํานักพระรําชวังทํากํารเชิญมําจํากวัดเทพศิรินทรําวําส (กองจดหมํายเหตุแห่งชําติ ๒๕๒๙: ๕๘) เดิมทีใช้ประดับแท่นพระเบญจําที่ประดิษฐํานพระศพสมเด็จพระนํางเจ้ําสุนันทํากุมํารีรัตน์ พระบรม รําชเทวี เมอ่ื พ.ศ.๒๔๒๓ ตอ่ มําเมอื่ เสรจ็ สนิ้ งํานพระเมรแุ ลว้ รชั กําลที่ ๕ โปรดใหย้ ํา้ ยแทน่ พระเบญจํา สว่ นกลํางและสว่ นบน มําใชเ้ ปน็ ฐํานชกุ ชปี ระดษิ ฐํานพระประธํานในพระอโุ บสถวดั เทพศริ นิ ทรําวําส (สํานักงํานทรัพย์สินส่วนพระมหํากษัตริย์ ๒๕๕๔: ๘๗) ดังนั้น งํานพระบรมศพครั้งน้ีที่เชิญสุวรรณ จํามรมําเพมิ่ เตมิ เพอื่ ใหก้ ํารประดบั ตกแตง่ พระแทน่ สวุ รรณเบญจดลมคี วํามสมบรู ณง์ ดงํามเปน็ พเิ ศษ เสมือนเป็นกํารร้ือฟื้นธรรมเนียมกํารประดับตกแต่งพระแท่นประดิษฐํานพระโกศ ตํามแบบแผนท่ี เคยปฏิบัติในช่วงสมัยรัชกําลที่ ๕-๖ อีกครั้ง
๔. รปู เทวดาเชญิ แวน่ แกว้ พระภษู าโยง เคยปรํากฏใชม้ ําหลํายครงั้ ตงั้ แตง่ ํานพระบรมศพ และงํานพระศพในสมัยรัชกําลที่ ๕ เช่น งํานพระศพสมเด็จพระนํางเจ้ําสุนันทํากุมํารีรัตน์ พระบรม รําชเทวีพ.ศ.๒๔๒๓เปน็ตน้ และปรํากฏวํา่ใชค้รงั้สดุทํา้ยในงํานพระบรมศพรชักําลท่ี๘หลงัจํากนนั้ ก็นํามําเก็บรักษําไว้ที่พิพิธภัณฑสถํานแห่งชําติพระนคร จนกระทั่งงํานพระบรมศพครั้งน้ีจึงได้นํา ออกมําใชร้ องรบั พระภษู ําโยงอกี ครงั้ นํา่ สงั เกตวํา่ กํารตงั้ รปู เทวดําเชญิ แวน่ แกว้ พระภษู ําโยงในงําน พระบรมศพครั้งนี้ ตั้งไว้ข้ํางหน้ําพระแท่นทองทรํายโดยวํางไว้ด้ํานล่ําง รูปเทวดําเชิญแว่นแก้ว พระภูษําโยงน่ําจะสัมพันธ์กับคติท่ีว่ํา องค์พระมหํากษัตริย์ทรงเปรียบเสมือน “พระอินทร์” ผู้เป็น รําชําแห่งสวรรค์ช้ันดําวดึงส์และเป็นใหญ่เหนือเหล่ําเทวดําทั้งปวง ดังนั้น จึงมีกํารประดับรูปเทวดํา ต่ํางๆ เพื่อส่งเสริมพระรําชสถํานะของพระองค์ตํามคติดังกล่ําว เช่น รูปเทพนมท่ีประดับโดยรอบ
เสด็จสู่แดนสรวง
๑๑4 ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ