Page 111 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 111
ตอ่ มําในชว่ งสมยั รชั กําลท่ี ๖ ในประกําศและหมํายกํา หนดกํารพระรําชพธิ ใี นราชกจิ จานเุ บกษา ทําให้เห็นวิวัฒนํากํารแบบแผนกํารตั้งแต่งในพระรําชพิธีพระบรมศพเร่ือยมํา เช่น ประกําศเร่ือง “พระบําทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ําเจ้ําอยู่หัวสวรรค์คต” พ.ศ.๒๔๕๓ ซ่ึงระบุรํายละเอียดกํารตั้งแต่ง ท่ียังคงคล้ํายคลึงกับสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ควํามว่ํา
“ครน้ั วนั ท่ี ๒๓ ตลุ าคม รตั นโกสนิ ทรศก ๑๒๙ เจา้ พนกั งานไดจ้ ดั การตกแตง่ ในพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท มุขตวันออกต้ังพระแท่นรองโต๊ะหมู่ เชิญพระพุทธรูป ประจา พระชนมวารในพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั มาประดษิ ฐานแลตงั้ เครื่องนมัสการ พระแท่นทรงกราบ เบื้องขวาซ้ายตั้งโต๊ะจีนลายครามมุขตวันตกต้ัง แว่นฟ้าทองคา ๓ ชั้นบนฐานพระบุพโพมีฐานเขียง ก้ันพระฉากผูกพระสูตร มุขเหนือ ตั้งพระแท่นเปนเตียงพระสงฆ์สวดพระอภิธรรม ทางข้างผนังด้านตวนั ออก ดา้ นตวนั ตกตรงกนั เปน ๒ เตยี ง แลตงั้ อาศนส์ งฆข์ า้ งมขุ ผนงั ตะวนั ออก เลย้ี วมาถงึ มขุ เหนอื แล ตรงนา่ พระฉากอกี อาศนหนงึ่ สา หรบั สดบั ปกรณ”์ (ราชกจิ จานเุ บกษา ๒๔๕๔: ๑๗๘๓)
4
ข้อมูลน้ีบ่งชี้ว่ํากํารตั้งแต่งในงํานพระบรมศพคร้ังนั้นยังคงคล้ํายคลึงกับสมัยรัตนโกสินทร์ ตอนต้นดังที่ได้บรรยํายไปในข้ํางต้น
ต่อมําเมื่อพระบําทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ําเจ้ําอยู่หัวสวรรคต เมื่อ พ.ศ.๒๔๖๘ ในราชกิจจา นเุ บกษามกี ํารกลํา่ วถงึ กํารตงั้ แตง่ ในพระมหําปรําสําท ซงึ่ เปลยี่ นแปลงไปจํากครําวงํานพระบรมศพ พระบําทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ําเจ้ําอยู่หัว พ.ศ.๒๔๕๓ อย่ํางชัดเจน ควํามว่ํา
“เจา้ พนกั งานไดจ้ ดั การตกแตง่ ในพระทนี่ งั่ ดสุ ติ มหาปราสาท ตงั้ โตะ๊ หมบู่ น พระแท่นมนังงคศิลา เชิญพระพุทธรูปประจาพระชนมวารในพระบาทสมเด็จ พระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มาประดิษฐานภายใต้ นพปฎลมหาเสวตรฉตั ร ตงั้ เครอื่ งนมสั การพระแทน่ ทรงกราบ มขุ ตวนั ตกตงั้ พระแทน่ แว่นฟ้าทองคา ๓ ชั้น บนฐานล่างมีฐานเขียงรอง ผูกพระสูตร์กั้นที่มุขใต้ มุขเหนือต้ัง พระแท่นเปนเตียงสวดสาหรับพระสงฆ์สวดพระอภิธรรม ทางข้างผนังตวันออกและ ตวนั ตกหนา้ ลบั แลตรงกนั เปน ๒ เตยี ง และตงั้ อาศนสงฆท์ า่ มกลางพระทนี่ งั่ และทขี่ า้ ง ผนังด้านเหนือมุขตวันออก ทั้งตั้งพระราชยานงาเปนธรรมาศน์” (ราชกิจจานุเบกษา ๒๔๖๘: ๒๗๐๓)
จํากขอ้ มลู ขํา้ งตน้ จะเหน็ สงิ่ ทเี่ ปลย่ี นแปลงไปอยํา่ งชดั เจนคอื ไมม่ กี ํารกนั้ พระฉํากทม่ี ขุ ตะวนั ตก ซึ่งเป็นบริเวณที่ประดิษฐํานพระโกศแล้ว และกํารกําหนดให้พระรําชบัลลังก์เป็นที่ประดิษฐําน พระพทุ ธรปู แทนกํารใชเ้ ปน็ ธรรมําสนเ์ ทศน์ ซง่ึ เวลํานนั้ พระรําชบลั ลงั กป์ ระดบั มกุ ถกู ยํา้ ยออกไปแลว้ ตง้ัแต่สมัยรชักําลท่ี๖และตงั้พระแท่นมนงัคศลิําอําสน์(แผ่นศิลําสมัยสโุขทัยทมี่กีํารประดับฐํานรอง รปู สงิ หเ์ พมิ่ เตมิ ) แทน (จมนื่ อมรดรณุ ํารกั ษ์ ๒๕๑๔: ๑๐) ตอ่ มําภํายหลงั จงึ มกี ํารเชญิ พระรําชบลั ลงั ก์ กลับมําประดิษฐํานอีกครั้งในสมัยรัชกําลที่ ๗ จนอําจกล่ําวได้ว่ํา แบบแผนกํารตั้งแต่งเมื่อครั้งงําน พระบรมศพในรัชกําลที่ ๖ เป็นแม่แบบในพระรําชพิธีพระบรมศพและพระศพครั้งอ่ืนๆ บนพระท่ีน่ัง แห่งน้ีเรื่อยมําจนถึงปัจจุบัน รวมถึงพระบรมศพรัชกําลท่ี ๙ ครั้งน้ีด้วย
ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๑๐๙
เสด็จสู่แดนสรวง