Page 235 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 235
สืบย้อนความสัมพันธ์ของปราสาทเขมร พระปรางค์ไทย และพระเมรุยอดปรางค์
รองศาสตราจารย์ ดร.รุ่งโรจน์ ธรรมรุ่งเรือง
ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
พระเมรุมําศของพระบําทสมเด็จพระปรมินทรมหําภูมิพลอดุลยเดช ออกแบบเป็นทรง กุฎําคํารคือเรือนที่มีหลังคําต่อเป็นยอดแหลม รูปทรงของหลังคําเป็นทรงมณฑป เทียบได้กับยอด พระมหําปรําสําทในพระบรมมหํารําชวัง เช่น พระที่นั่งดุสิตมหําปรําสําท พระที่นั่งจักรีมหําปรําสําท หรือยอดมณฑปประดิษฐํานสิ่งสักกํารบูชําในวัดวําอํารําม เช่น มณฑปพระพุทธบําทสระบุรี มณฑป ประดิษฐํานพระไตรปิฎกวัดพระศรีรัตนศําสดํารําม
พระเมรุมําศยอดทรงมณฑปเช่นนี้ทําสืบมําตั้งแต่พระเมรุมําศของพระบําทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้ําเจ้ําอยู่หัว ล่วงผ่ํานมํายังพระเมรุมําศของพระบําทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ําเจ้ําอยู่หัว รชั กําลที่ ๖ และพระเมรมุ ําศพระบําทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหําอํานนั ทมหดิ ล พระอฐั มรํามําธบิ ดนิ ทร ในขณะที่พระเมรุของบุรพกษัตริย์ก่อนหน้ํานั้นเป็นพระเมรุยอดปรํางค์ มีขนําดสูงใหญ่กว่ํา พระเมรุมําศที่สร้ํางในปัจจุบันมําก เช่น พระเมรุของพระบําทสมเด็จพระจอมเกล้ําเจ้ําอยู่หัว อันเป็น พระเมรุของพระมหํากษัตริย์ที่เก่ําที่สุดที่มีภําพหลงเหลือให้ศึกษําได้
สําเหตุที่ทําให้พระเมรุมําศตั้งแต่พระรําชพิธีพระบรมศพพระบําทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ํา เจํา้ อยหู่ วั เปน็ ตน้ มําแตกตํา่ งจํากยคุ สมยั กอ่ นหนํา้ ทง้ั ขนําดทเี่ ลก็ ลงและรปู แบบทเี่ ปลยี่ นไป เนอื่ งดว้ ย เป็นไปตํามพระรําชประสงค์ของพระองค์ที่ต้องกํารให้ยกเลิกงํานพระเมรุใหญ่ ให้ปลูกแต่ที่เผําอัน สมควร ณ ท้องสนํามหลวง ดังข้อควํามท่ีคัดมําดังน้ี
“...แต่ก่อนมา ถ้าพระเจ้าแผ่นดินสวรรคตลง ก็ต้องปลูกพระเมรุใหญ่ ซงึ่ คนไมเ่ คยเหน็ แลว้ จะนกึ เดาไมถ่ กู วา่ โตใหญเ่ พยี งใด เปลอื งทงั้ แรงคน แลเปลอื งทง้ั พระราชทรพั ย์ ถา้ จะทา ในเวลานก้ี ด็ ไู มส่ มกบั การทเ่ี ปลย่ี นแปลงของบา้ นเมอื ง ไมเ่ ปน เกยี รตยิ ศยดื ยาวไปไดเ้ ทา่ ใด ไมเ่ ปนประโยชนต์ อ่ คนทงั้ ปวง กลบั เปนความเดอื ดรอ้ น ถ้าเปนการศพท่านผู้มีพระคุณ หรือผู้มีบรรดาศักด์ิใหญ่อันควรจะได้เกียรติยศ ฉันก็
๒๑
ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๒33
เสด็จสู่แดนสรวง