Page 277 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 277
ถึงแม้องค์พระโกศในภําพลํายเส้นและในภําพสีซ่ึงมีกําบเป็นกลีบบัวหุ้มรอบจะไม่ชัดเจน ว่ําเป็นทรงกลมหรือแปดเหลี่ยม แต่ถ้ําพิจํารณําจํากข้อควํามประกอบแบบลํายเส้นบุษบกบน พระเบญจําที่ประดิษฐํานพระโกศพระบรมศพสมเด็จพระรูปฯ ภํายในพระเมรุทองว่ํา “ถํานพระบรม โกดแปดเหลี่ยม” (ฐํานพระบรมโกศแปดเหลี่ยม) (แน่งน้อย ศักดิ์ศรี และคณะ ๒๕๕๕: ๙๑) ก็ทําให้ พอจะตัดสินได้ว่ําพระโกศพระบรมศพกษัตริย์อยุธยําเป็นทรงแปดเหลี่ยมยอดมณฑป ในลักษณะ เดียวกับพระโกศกุด่ันใหญ่และพระโกศกุด่ันน้อยทรงพระศพสมเด็จพระเจ้ําพี่นํางเธอทั้ง ๒ พระองค์ ในรัชกําลที่ ๑ (เจ้ําพระยําทิพํากรวงศ์ ๒๕๔๘: ๑๖๗) ซ่ึงน่ําจะได้รับแบบอย่ํางมําจํากพระโกศครั้ง กรุงเก่ําท่ีกล่ําวไว้ในคาให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม
๓. รปู ชา้ ง ทํา้ ยกระบวนพระบรมศพยงั ปรํากฏรปู ชํา้ งทรงเครอื่ งยนื แทน่ ฐํานปทั มร์ บั บษุ บก สงั เคด็ บนตะเฆท่ ง้ั หมด ๒ เชอื ก มรี ปู หนุ่ ทรงเครอ่ื งเทวดําเปน็ ควําญถอื ของํา้ วบนคอชํา้ งและทํา้ ยชํา้ ง นั่งร่ํายรําอยู่หลังช้ําง กํากับด้วยอักษรโรมัน ภําษําดัตช์ใต้ภําพ ซ่ึง Barend J. Terwiel แปลควําม ได้ว่ํา “ช้ํางแดงรับหมําก” และ “ช้ํางเผือกรับน้ํา” น่ําจะเป็นเคร่ืองสังเค็ดสําหรับพระสงฆ์ที่ขึ้นสวด ในพระเมรแุ ละสํามสรํา้ ง รปู ชํา้ งในลกั ษณะคลํา้ ยกนั นยี้ งั ปรํากฏในภําพคดั ลอกกระบวนเชญิ พระโกศ พระบรมศพพระบําทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ําจุฬําโลกมหํารําชว่ําประกอบด้วยช้ํางเงิน ช้ํางทอง ช้ํางแดง และช้ํางเขียว (สมภพ ภิรมย์ ๒๕๒๘: ๑๑๒) แต่ต่ํางกันตรงที่รูปช้ํางในสมัยรัตนโกสินทร์ รวมอยใู่ นกระบวนรปู สตั วน์ ํา หนํา้ กระบวนรําชรถ ไมไ่ ดต้ ํามหลงั รําชรถเหมอื นกระบวนเชญิ พระโกศ พระบรมศพครั้งกรุงเก่ํา ปิดท้ํายกระบวนด้วยเจ้ําพนักงํานแต่งกํายอย่ํางเทวดําถือฉัตร ๕ ชั้น
คติสัญลักษณ์ในงานพระเมรุสมเด็จพระเพทราชา
แนวคิดท่ีถือว่ํากษัตริย์และพระรําชวงศ์ของพระองค์เปรียบได้กับสมมติเทพ-เทวําวตําร มําจุติบนโลกมนุษย์ เมื่อสวรรคตหรือส้ินพระชนม์ลงก็ต้องเสด็จคืนสู่พระรําชสถํานะเดิมในฐํานะ “อุปัตติเทพ” บนสวรรค์ชั้นดําวดึงส์ในฐํานะพระอินทร์หรือบนสวรรค์ชั้นดุสิตในฐํานะพระโพธิสัตว์ เพอื่ รอเวลําลงมําตรสั รเู้ ปน็ พระพทุ ธเจํา้ ในอนําคต (เหมนั ต์ สนุ ทร ๒๕๕๒: ๒๐๓) สถํานทถี่ วํายพระเพลงิ ของพระองคจ์ งึ เปน็ “แบบจํา ลองของพภิ พ” ทพี่ ระองคจ์ ะเสดจ็ คนื สดู่ นิ แดนหรอื “บท” ของพระผเู้ ปน็ เจํา้ พระเมรแุ ละสงิ่ ปลกู สรํา้ งบรวิ ํารจงึ ออกแบบมําบนพน้ื ฐํานของคตจิ กั รวําลตํามทรรศนะของพรําหมณ์ พทุ ธ ซง่ึ ในทน่ี จ้ี ะกลํา่ วถงึ คตสิ ญั ลกั ษณเ์ ฉพําะทปี่ รํากฏในภําพงํานพระเมรสุ มเดจ็ พระเพทรําชําเพยี ง สังเขปตํามลําดับ ได้แก่ ๑. พระเมรุ ๒. เมรุทิศและสํามสร้ําง ๓. ต้นกัลปพฤกษ์และศําลําฉ้อทําน ๔. ระทํา โรงรํา และมหรสพ ๕. กระบวนรูปสัตว์ ๖. กระบวนรําชรถ ดังนี้
๑. พระเมรุ เป็นที่ทรําบกันดีว่ํากํารสร้ํางพระเมรุเป็นท่ีถวํายพระเพลิงพระบรมศพคือ กํารจํา ลองเขําพระสเุ มรศุ นู ยก์ ลํางของจกั รวําลอนั เปน็ ทสี่ ถติ ของพระอนิ ทร์ ตํามทปี่ รํากฏในอรรถกถํา และคัมภีร์โลกศําสตร์ นักวิชํากํารหลํายท่ํานมีควํามเห็นตรงกันว่ํากํารสร้ํางพระเมรุขนําดใหญ่ มีจํานวนยอด ๕ หรือ ๙ ยอด ล้อมรอบด้วยเมรุทิศทั้ง ๘ ทิศและสํามสร้ํางเป็นระเบียงคด น่ําจะเริ่ม มขี นึ้ ในรชั กําลสมเดจ็ พระเจํา้ ปรําสําททอง โดยอนมุ ํานจํากกํารสรํา้ งเขําพระสเุ มรจุ ํา ลองหนํา้ พระทนี่ งั่ จักรวรรไพชยนต์ในพระรําชพิธีลบจุลศักรําช ๑๐๐๐ (พ.ศ.๒๑๘๑) ในรัชกําลของพระองค์ซ่ึงมี องค์ประกอบคล้ํายคลึงกับพระเมรุและส่ิงปลูกสร้ํางบริวํารดังนี้ “ให้ตั้งเขาพระเมรุราชหน้าจักรหวัด
๑3
ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๒๗5
เสด็จสู่แดนสรวง