Page 279 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 279
พระเมรุทองที่ถวํายพระเพลิงพระบรมศพอันมีรูปทรงอย่ํางปรําสําทยอดปรํางค์เก้ํายอด จึงควรเป็น
สญั ลกั ษณแ์ ทนไพชยนตพ์ มิ ํานของพระอนิ ทรบ์ นสวรรคช์ นั้ ดําวดงึ สท์ อ่ี ยบู่ นยอดสดุ ของเขําพระสเุ มรุ
และยอดทงั้ หมดนํา่ จะแทนยอดไพชยนตพ์ มิ ํานทคี่ มั ภรี โ์ ลกศําสตรเ์ ปน็ ตน้ วํา่ ไตรภมู โิ ลกวนิ จิ ฉยกถา ระบุว่ํามีจํานวนนับร้อย (พระธรรมปรีชํา ๒๕๒๐: ๑๑๖) ๑3
๒. เมรทุ ศิ และสามสรา้ ง สํามํารถเทยี บไดก้ บั เมรทุ ศิ และระเบยี งคดของวดั ไชยวฒั นํารําม โดยระเบียงคดน่ําจะเป็นสัญลักษณ์แทนเขําจักรวําลที่เป็นกําแพงกั้นระหว่ํางจักรวําลแต่ละแห่ง และพื้นภํายนอกที่อําศัยของพวกเปรตในโลกันตมหํานรก (ชําตรี ประกิตนนทกําร ๒๕๕๖: ๑๘๔- ๑๘๗) แต่ก็มีปัญหําในกํารตีควํามเหมือนกัน เพรําะโดยทั่วไปมักเชื่อว่ําเมรุทิศเป็นตัวแทนของ เขําสตั ตบรภิ ณั ฑ์ ในขณะทเี่ มรทุ ศิ มที งั้ หมด ๘ ทศิ จงึ มจี ํา นวนทไี่ มส่ อดคลอ้ งกนั ในทนี่ มี้ คี วํามเหน็ วํา่ หํากยึดตํามคัมภีร์โลกศาสตร์เป็นต้นว่ําไตรภูมิโลกวินิจฉยกถาท่ีกล่ําวถึงสุทัสสนมหํานครของ พระอนิ ทรว์ ํา่ “แวดลอ้ มไปดว้ ยสวุ รรณปราการกา แพงทองโดยรอบ...กฎู าคารพมิ านทเี่ ปน็ ซมุ้ พระทวาร” (ชําตรี ประกติ นนทกําร ๒๕๕๖: ๑๑๗) กเ็ ปน็ ไปไดท้ เ่ี มรทุ ศิ ทงั้ ๘ ทศิ อําจสอื่ ควํามหมํายถงึ ประตเู มอื ง ดงั กลํา่ ว แตก่ รณนี อี้ ําจอธบิ ํายยํากสกั หนอ่ ยกบั เมรทุ ศิ ทงั้ ๘ ทศิ และระเบยี งคดของวดั ไชยวฒั นํารําม ซึ่งปรํางค์ประธํานเป็นสัญลักษณ์ของเจดีย์จุฬํามณีไม่ใช่ไพชยนต์พิมํานของพระอินทร์
หํากคติจักรวําลในคัมภีร์โลกศําสตร์ยังไม่อําจอธิบํายจํานวนของเมรุทิศท้ัง ๘ ทิศได้อย่ําง ลงตวั กย็ งั เหลอื คมั ภรี ป์ ระเภทโหรําศําสตรอ์ ยํา่ งเรอ่ื งเฉลมิ ไตรภพ (พระยํารําชภกั ดี ๒๕๔๕: ๑๔-๒๑) กล่ําวถึงกํารสร้ํางจักรวําลและเขําพระสุเมรุรําชโดยพระอิศวร พระอุมํา พระธําดํา (พระพรหม) และ พระนํารํายณแ์ ลว้ พระอศิ วรจงึ ทรงสรํา้ งวมิ ํานนพเครําะห์ ๙ วมิ ํานและทรงสรํา้ งเทพยดํานพเครําะห์ ทงั้ ๙ องคใ์ หท้ รงโคจรตํามจกั รรําศแี ละสถติ ตํามเหลย่ี มใหญป่ ระจํา ทศิ ทงั้ ๘ ทศิ รอบเขําพระสเุ มรรุ ําช อันได้แก่ พระอําทิตย์ประจําทิศตะวันออกเฉียงเหนือ พระจันทร์ประจําทิศตะวันออก พระอังคําร ประจํา ทศิ ตะวนั ออกเฉยี งใต้ พระพธุ ประจํา ทศิ ใต้ พระเสํารป์ ระจํา ทศิ ตะวนั ตกเฉยี งใต้ พระพฤหสั บดี ประจํา ทศิ ตะวนั ตก พระรําหปู ระจํา ทศิ ตะวนั ตกเฉยี งเหนอื พระศกุ รป์ ระจํา ทศิ อดุ ร และพระเกตปุ ระจํา ทศิ กลําง (หลวงวศิ ําลดรณุ กร ๒๕๔๐: ๒๘๓-๒๘๕) เมรทุ ศิ ทงั้ ๘ ทศิ จงึ อําจเปน็ สญั ลกั ษณแ์ ทนวมิ ําน ของเทพประจําทิศทั้ง ๘ องค์อันสถิตตํามเหลี่ยมเขําพระสุเมรุทั้ง ๘ ทิศ เพ่ือช่วยส่งเสริมและ ย้ําให้เห็นว่ําปรํางค์ประธํานหรือพระเมรุเป็นสัญลักษณ์แทนเขําพระสุเมรุ
๓. ต้นกัลปพฤกษ์และศาลาฉ้อทาน ต้นกัลปพฤกษ์เป็นไม้สํารพัดนึกที่ผู้ใดอยํากได้ เครอื่ งอปุ โภคบรโิ ภคนํานําบรรดํามกี ส็ ํามํารถไปสอยลงมําไดต้ ํามชอบใจ ตํามคตจิ กั รวําล กลั ปพฤกษ์ ถือเป็นไม้อันเกิดขึ้นพร้อมกัลป์ เป็นไม้ประจําอุตตรกุรุทวีป “สูง ๑๐๐ โยชน มีกิ่ง ๔ ก่ิงๆ แลอันยาว ๕๐๐ โยชน บริมณฑลได้ ๑๐๐ โยชน” (กรมศิลปากร ๒๕๕๔: ๘๓) ทาให้มนุษย์ในทวีปนี้ไม่ต้อง ดน้ิ รนหาปจั จยั สี่ เพราะ “คนทไี่ มป่ รารถนาเพอ่ื จะหงุ กพ็ ากนั บรโิ ภคทตี่ น้ กลั ปพฤกษ์ ทกุ สงิ่ ทกุ อยา่ ง เครอื่ งประดบั มเี ครอ่ื งทอง เปน็ ตน้ ภตั ตาหาร เสนาสนะผา้ และอลงั การ แมท้ งั้ เครอื่ งอปุ กรณท์ กุ อยา่ ง ล้วนสาเร็จรูป มีอยู่พร้อมเพรียงที่ต้นกัลปพฤกษ์ทั้งน้ัน” (พระสังฆรําชเมธังกร ๒๕๔๙: ๑๔๐) บนสวรรค์ชั้นดําวดึงส์ต้นกัลปพฤกษ์มีมํากจนเป็นรําวป่ําข้ํางสุทัสสมหํานคร ทั้งต้นที่เป็นทอง เงิน แก้วผลึก แก้วไพฑูรย์ แก้วลําย แก้วแดง หรือกระท่ังแก้ว ๗ ประกําร ทุกต้น “บริบูรณ์ด้วยทิพยวัต ถาภรณ์อลังการ...ทุกส่ิงสารพัดมีพร้อม ปรารถนาส่ิงไร ก็ได้สิ่งน้ันสาเร็จมโนรถความปรารถนา
ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๒๗๗
เสด็จสู่แดนสรวง