Page 280 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 280
ทั้งทิพยโภชนาสุธาหารก็มีพร้อม” (พระยําธรรมปรีชํา ๒๕๒๐: ๑๒๐-๑๒๑) ทําให้กํารประดับ ตน้ กลั ปพฤกษก์ ลํายเปน็ สญั ลกั ษณท์ ชี่ ว่ ยสง่ เสรมิ ใหพ้ ระเมรแุ ละปรมิ ณฑลเปน็ ดง่ั สวรรคช์ นั้ ดําวดงึ ส์ นอกจํากน้ี ต้นกัลปพฤกษ์ยังเป็นไม้ประจําส่ีมุมเมืองเกตุมดีมหํานคร เมื่อพระศรีอําริยเมตไตรย มําตรัสรู้อีกด้วย (กรมศิลปํากร ๒๕๕๔: ๕๙)
ผลบญุ แหง่ กํารตง้ั ตน้ กลั ปพฤกษไ์ ดร้ บั กํารกลํา่ วถงึ ในพระสตุ ตนั ตปฎิ ก ขทุ ทกนกิ าย อปทาน ภาค ๑ กัปปรุกขิยเถราปทานท่ี ๑๐ และอรรถกถากัปปรุกขิยเถราปทาน (หมวดธรรมะ ๒๕๔๘) ว่ําด้วยผลแห่งกํารตั้งต้นกัลปพฤกษ์บูชํา กล่ําวถึงพระกัปปรุกขิยเถระผู้กําเนิดจํากตระกูลดีได้สร้ําง ตน้ กลั ปพฤกษท์ องและแกว้ ๗ ประกํารบชู ําหนํา้ พระเจดยี ข์ องพระพทุ ธเจํา้ สทิ ธตั ถะ ผลบญุ ดงั กลํา่ ว ทําให้ไม่ตกในอบํายภูมิ เกิดในตระกูลดี กระทั่งได้ฟังธรรมจํากพระพุทธเจ้ําโคตมะจนบรรลุอรหันต์
สําหรับศําลําฉ้อทํานน่ําจะมําจํากโรงทําน ๖ แห่งที่กล่ําวถึงในอรรถกถําเวสสันดรชําดก ตอน หมิ วนั ตวรรณนํา กลํา่ วถงึ พระนํางผสุ ดขี ณะทรงพระครรภพ์ ระเวสสนั ดร พระโพธสิ ตั วด์ ลพระทยั ใหท้ รงตงั้ โรงทําน ๖ แหง่ รอบพระนคร (หมวดธรรมะ ๒๕๔๘) อยํา่ งไรกด็ ี จํา นวนศําลําฉอ้ ทํานในภําพ งํานพระเมรุกลับมีอยู่ถึง ๘ แห่ง อําจเป็นไปได้ว่ํา จํานวน ๘ ดังกล่ําวอําจต้องกํารสื่อควํามหมําย เชิงสัญลักษณ์ถึงกํารทําทํานทั้ง ๘ ทิศไปพร้อมกันด้วย ดังปรํากฏในพระรําชพงศําวดํารที่กล่ําวถึง กํารทิ้งทําน ๘ ทิศ ดังนั้น ท้ังต้นกัลปพฤกษ์และศําลําฉ้อทํานนับเป็นควํามชําญฉลําดของผู้คิดค้น ที่นําคติสัญลักษณ์ในคัมภีร์โลกศําสตร์ผนวกกับกํารทําทํานในพุทธศําสนําจํากเวสสันดรชําดก เข้ําด้วยกัน
๔. ระทา โรงรา และมหรสพ ดเู หมอื นวํา่ ทง้ั ๓ สงิ่ นจี้ ะไมม่ อี ะไรมํากไปกวํา่ กํารสรํา้ งควําม บันเทิงเพื่อกํารเฉลิมฉลองในวําระที่สมมติเทพกลับคืนสู่สรวงสวรรค์ ตํามควํามนิยมของงํานศพใน อุษําคเนย์ที่มิใช่งํานไว้ทุกข์แต่เป็นงํานร่ืนเริง พระราชพงศาวดารฉบับสมเด็จพระพนรัตน์ วดั พระเชตพุ นกลํา่ วถงึ กํารจดุ ระทําดอกไมเ้ พลงิ ในงํานพระเมรสุ มเดจ็ พระเพทรําชําวํา่ เปน็ กํารถวําย บูชําพระบรมศพ (สมเด็จพระพนรัตน์ ๒๕๕๘: ๑๗๘) น่ําสังเกตที่ทรวดทรงของระทําดอกไม้เพลิง มีลักษณะเป็นหอสูงต้ังบุษบกบนยอด ดูใกล้เคียงมํากกับภําพเขําสัตตบริภัณฑ์และเขําจักรวําฬ ท่ีเป็นรูปแท่งและตอนบนเป็นที่ต้ังของวิมํานเทพยดํา หํากเป็นเช่นน้ันจริงระทําก็ยังอําจส่ือ ควํามหมํายเชิงสัญลักษณ์ถึงกํารแสดงควํามยินดีของเหล่ําทวยเทพที่สถิตตํามวิมํานบนยอดเขํา สัตตบริภัณฑ์หรือเขําบริวํารก็เป็นได้
๕. กระบวนรูปสัตว์ สมเด็จฯ เจ้ําฟ้ํากรมพระยํานริศรํานุวัดติวงศ์ทรงตั้งข้อสังเกตว่ํา “เดิมทาแต่พอจานวนเจ้านายอุ้มข่ีผ้าไตรไปในกระบวนแห่ ตั้งแต่เปล่ียนเป็นทาบุษบกวางไตร บนหลังรูปสัตว์ จึงเพิ่มจานวนสัตว์ขึ้น...แล้วมาปรุงขึ้นสาหรับงานพระเมรุ...ตาราสัตว์หิมพานต์ ก็เห็นมีตาราทาสาหรับการพระเมรุเท่าน้ัน ตาราตัวจริงไม่เห็นมี” (สมเด็จฯ เจ้ําฟ้ํากรมพระยํา นริศรํานุวัดติวงศ์ และ สมเด็จฯ กรมพระยําดํารงรําชํานุภําพ, ๒๕๐๕: ๑๓๕–๑๓๗) รูปสัตว์เหล่ํานี้ เมอื่ แหแ่ หนในกระบวนแลว้ จะไดเ้ ชญิ เขํา้ ไปจอดยงั โรงรปู สตั วท์ อ่ี ยรู่ ํายรอบสํามสรํา้ ง ทํา ใหเ้ ชอื่ กนั วํา่ เป็นองค์ประกอบแทนบรรดําสัตว์จัตุบําท ทวิบําท และสกุณชําติ ท่ีอําศัยตํามเชิงและเหลี่ยมเขํา พระสุเมรุ ช่วยส่งเสริมให้พระเมรุและส่ิงปลูกสร้ํางเป็นแบบจําลองของเขําพระสุเมรุ
เสด็จสู่แดนสรวง
๒๗๘ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ