Page 282 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 282

อกี คตนิ ยิ มหนงึ่ เปน็ คตนิ ยิ มทมี่ ําจํากอนิ เดยี เปรยี บพญํานําคเปน็ รงุ้ กนิ นํา้ สญั ลกั ษณข์ องหนทําง หรอื สะพํานเชอื่ มระหวํา่ งโลกกบั สวรรค์ ดงั ตอนพระพทุ ธเจํา้ เสดจ็ ลงจํากดําวดงึ ส์ พญํานําค ๒ ตน ไดใ้ ช้ หลังหนุนบันได ๓ แนวที่เสด็จลงมํา ซึ่งมนุษย์บนโลกจะมองเห็นเป็นรุ้งกินน้ํา ๓ สําย รุ้งกินน้ําหรือ นําคจึงมีควํามหมํายเชิงสัญลักษณ์เป็นด่ังสะพํานที่เชื่อมฝั่งสวรรค์กับฝั่งโลกอันทอดข้ํามแม่น้ําหรือ มหําสมุทรของอันตรภพ (แดนกลําง) ลําตัวของนําคท่ีทอดไปตํามแปรกของรําชรถซึ่งเปรียบได้กับ สะพํานรงุ้ กนิ นํา้ จงึ เปน็ เสมอื นหนทํางทเี่ ชอ่ื มดนิ แดนสองฝง่ั คอื ฝง่ั สงั สํารวฏั ดนิ แดนแหง่ กํารเวยี นวํา่ ย ตํายเกดิ กบั ฝง่ั นพิ พํานดนิ แดนแหง่ ควํามเปน็ อมตะเขํา้ ดว้ ยกนั (เอเดรยี น สนอดกรําส ๒๕๕๑: ๓๓๘-๓๓๙)
สรุปความ
ภําพพระเมรแุ ละกระบวนเชญิ พระโกศพระบรมศพสมเดจ็ พระเพทรําชํามคี วํามใกลเ้ คยี งกบั พระเมรใุ หญห่ รอื พระเมรเุ อกทสี่ รํา้ งสมยั ตน้ รตั นโกสนิ ทร์ ซงึ่ แสดงถงึ ควํามสบื เนอ่ื งและกํารถํา่ ยทอด ทั้งรูปแบบและคติสัญลักษณ์จํากครั้งกรุงเก่ํา ประกอบไปด้วยพระเมรุยอดปรํางค์ ๙ ยอด ที่ตั้ง ของพระเมรุทองซึ่งสื่อควํามหมํายถึงวิมํานไพชยนต์บนเขําพระสุเมรุ พร้อมด้วยเมรุทิศท้ัง ๘ ทิศ เชอื่ มตอ่ กนั ดว้ ยสํามสรํา้ งในรปู ของระเบยี งคด สญั ลกั ษณแ์ ทนวมิ ํานของเทพอฐั เครําะหท์ ง้ั ๘ ทสี่ ถติ ตํามเหลย่ี มทงั้ ๘ ทศิ รอบเขําพระสเุ มรแุ ละกํา แพงจกั รวําล ทง้ั หมดนเี้ พอื่ ยํา้ ควํามหมํายและควํามเปน็ ศูนย์กลํางว่ําพระเมรุเปรียบได้กับเขําพระสุเมรุที่สถิตของทวยเทพบนสวรรค์
สง่ิ ปลกู สรํา้ งตํา่ งๆ ทงั้ โรงสงั เคด็ โรงรํา ระทํา และพมุ่ ดอกไมเ้ พลงิ ทต่ี งั้ ตํามรํายทํางกระบวน เชิญพระบรมศพ เหล่ํานี้มีควํามหมํายเชิงสัญลักษณ์ที่เกี่ยวข้องกับคติจักรวําลและกํารบําเพ็ญบํารมี ในพุทธศําสนํา ต้นกัลปพฤกษ์และโรงทํานสะท้อนถึงกํารบําเพ็ญพระรําชกุศลและทศพิธรําชธรรม ของกษตั รยิ ท์ งั้ ในฐํานะทที่ รงเปน็ สมมตเิ ทพและกํารสงั่ สมพระบํารมี เพอื่ รอกํารตรสั รเู้ ปน็ พระพทุ ธเจํา้ ในอนําคต สว่ นระทํา โรงรํา และกํายกรรมประเภทหกสงู -ญวนหก นอกจํากจะเปน็ สญั ลกั ษณท์ แี่ ทน วิมํานของเทพเจ้ําบนเขําสัตตบริภัณฑ์ท้ัง ๗ ลูกแล้ว ยังสื่อควํามหมํายถึงควํามร่ืนเริงบนสวรรค์อัน เป็นที่สถิตของทวยเทพ
คติสัญลักษณ์ในกํารสร้ํางพระเมรุและสิ่งปลูกสร้ํางประกอบยังเป็นกํารแสดงควํามสัมพันธ์ ระหว่ํางจุลจักรวําลกับมหําจักรวําลของมนุษยโลกกับเทวโลก ด้วยกํารจําลองจักรวําลไว้บนพื้นโลก ใหเ้ กดิ ควํามสอดคลอ้ งกลมกลนื ระหวํา่ งโลกทงั้ สองอยํา่ งแนบแนน่ กํารออกแบบพระเมรแุ ละสง่ิ ปลกู สร้ํางนอกจํากจะสอดคล้องกับคติจักรวําลแล้ว ยังเป็นเคร่ืองแสดงพระเกียรติยศและแสดงภําวะ สุดท้ํายแห่งกํารเป็นสมมติเทพ ท้ังยังเป็นกํารพิสูจน์พระบุญญําบํารมีที่ทรงสั่งสมมําตลอดจน ก่อให้เกิดกํารรังสรรค์พระเมรุและส่ิงปลูกสร้ําง สําเร็จเป็นจุลจักรวําลบนพิภพมนุษย์ที่สอดคล้องกับ มหําจักรวําลของพระผู้เป็นเจ้ําให้เป็นที่ประจักษ์และยอมรับแก่ทวยเทพ เพ่ือที่พระองค์จะสํามํารถ บรรลุคืนสู่ดินแดน (บท) แห่งพระผู้เป็นเจ้ําได้อย่ํางสมบูรณ์
คาขอบคุณ
ผู้เขียนขอขอบคุณ คุณสุชําติ สินธวํารยัน ช่วยจัดหําวํารสําร Journal of the Siam Society คุณทศพร นันต๊ะ สําหรับควํามช่วยเหลือในกํารสแกนภําพประกอบบทควําม
เสด็จสู่แดนสรวง
๒๘๐ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ


































































































   280   281   282   283   284