Page 281 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 281

รูปนกอินทรียืนแท่นรับบุษบกสังเค็ดบนตะเฆ่ รูปแรดช้ํางยืนแท่นรับบุษบกเพลิงบนตะเฆ่ ในกระบวนรูปสัตว์ ในกระบวนรูปสัตว์
นอกจํากน้ี รปู สตั วบ์ ํางตวั ยงั มคี วํามหมํายเชงิ สญั ลกั ษณท์ เี่ กยี่ วขอ้ งกบั เรอื่ งอนั เกยี่ วขอ้ งกบั ควํามตําย เปน็ ตน้ วํา่ รปู นกอนิ ทรแี ละรปู แรดชํา้ งในภําพงํานพระบรมศพสมเดจ็ พระเพทรําชําซงึ่ นํา หนํา้ รปู สตั วท์ ง้ั หมด นกอนิ ทรใี นสมดุ ภําพกระบวนเชญิ พระโกศพระบรมศพพระบําทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟํา้ จุฬําโลกมหํารําชได้รับกํารระบุว่ําเป็นรูปนกหัสดิีลิงค์ (สมภพ ภิรมย์ ๒๕๒๘: ๑๑๒) ซึ่งสมเด็จฯ เจ้ํา ฟ้ํากรมพระยํานริศรํานุวัดติวงศ์ทรงอธิบํายว่ํา “รูปนกหัสดินก็มีแต่หัวไม่มีงวงไม่มีงา เป็นอย่างนก อินทรีเท่าน้ัน” (สมเด็จฯ เจ้ําฟ้ํากรมพระยํานริศรํานุวัดติวงศ์ และสมเด็จฯ กรมพระยําดํารงรําชํานุ ภําพ, ๒๕๐๕: ๑๓๕–๑๓๗) ขณะที่พระยําอนุมํานรําชธนอธิบํายกํารทําศพของชําวอุตตกุรุทวีปตําม คัมภีร์โลกศาสตร์ซงึ่ จะนํา ผํา้ หอ่ ศพไปไวก้ ลํางแจง้ แลว้ ให้ “นกใหญ”่ เปน็ ตน้ วํา่ นกอนิ ทรี นกหสั ดลิี งิ ค์ หรอื นกกดบนิ โฉบลงมําคําบศพไป (ส.พลํายน้อย ๒๕๓๐: ๓๓-๓๗) แสดงถึงกํารใช้นกใหญ่เป็นส่ือ ในกํารเปล่ียนผ่ํานจํากภพน้ีไปยังภพหน้ํา (เหมันต์ สุนทร ๒๕๕๒: ๓๒) ตํามประเพณีดึกดําบรรพ์ที่ “ปลงศพด้วยนก” ให้พําขวัญและวิญญําณข้ึนฟ้ํา (สวรรค์) ดังปรํากฏลํายเส้นรูปนกบนหน้ํากลอง มโหระทึกสมัยก่อนประวตั ศิ ําสตร์ ซงึ่ แมจ้ ะเปลยี่ นคตมิ ําเปน็ กํารปลงศพดว้ ยกํารเผําแบบอนิ เดยี กย็ งั คงรกั ษํารอ่ งรอยดงั้ เดมิ ไว้ (สุจิตต์ วงษ์เทศ ๒๕๕๙) ในรูปของนกอินทรีหรือนกหัสดิีลิงค์ในกระบวน รูปสัตว์งํานพระเมรุ
ในขณะทรี่ ปู แรดหรอื ระมําดเปน็ พําหนะของพระอคั นเี ทพเจํา้ แหง่ ไฟตํามคตกิ มั พชู ํา ดงั ปรํากฏ ภําพสลกั บนผนงั ระเบยี งคดปรําสําทนครวดั ดํา้ นทศิ เหนอื (Maxwell and Poncar 2006: 53) ทวํา่ ใน อินเดียพระอัคนีจะทรงแพะเป็นพําหนะ นัยว่ําเป็นกํารเชิญพระอัคนีเทพเจ้ําแห่งไฟไปยังพระเมรุ
๖.กระบวนราชรถรปู พญํานําคสํามเศยี รของพระมหําพชิ ยั รําชรถกฤษฎําธํารและพระพชิ ยั รําชรถในภําพลํายเสน้ แสดงคตนิ ยิ มทมี่ ําบรรจบกนั ๒ คติ กลํา่ วคอื คตนิ ยิ มพนื้ เมอื งในเอเชยี ตะวนั ออก เฉียงใต้ที่เช่ือว่ํานําคเป็นพําหนะนําวิญญําณผู้ตํายไปสู่ปรโลก ดังข้อสังเกตของสุจิตต์ วงษ์เทศ ถงึ กํารใชเ้ รอื นําคเปน็ พําหนะเชญิ วญิ ญําณผตู้ ํายในพธิ ปี ลงศพ ตอ่ มําเมอื่ เปลยี่ นมําเปน็ รําชประเพณี ถวํายพระเพลิงที่พระเมรุก็ยังคงรูปพญํานําคไว้เป็นหัวและหํางของรําชรถเช่นเดิม (สุจิตต์ วงษ์เทศ ๒๕๕๑) สอดคล้องกับรูปทรงของรําชรถทั้งในสมัยอยุธยําและรัตนโกสินทร์ซึ่งเกรินท่ีหัวและท้ําย ให้แอ่นโค้งดูเหมือนลําเรือ
ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๒๗๙
เสด็จสู่แดนสรวง
๑3


































































































   279   280   281   282   283