Page 290 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 290
รตั นโกสนิ ทรค์ อื เหตกุ ํารณใ์ นตอนทพ่ี ระยําแกรกปลงศพพระยําโคดตะบอง (โคตรตะบอง) แลว้ สรํา้ ง วัดสบสวรรค์ที่ตรงนั้น ดังนั้น จึงดูประหนึ่งว่ําประเพณีดังกลํา่ วอําจอิงอยู่กับกํารให้ควํามสําคัญกับ ควํามเช่ือบํางสิ่ง
ประกํารท่ีสอง น่ําสังเกตเป็นอย่ํางยิ่งว่ําเร่ืองสร้ํางวัดบนท่ีเผําพระศพกษัตริย์หรือเจ้ํานําย นี้ ไม่ได้ปรํากฏในเอกสํารที่เขียนขึ้นร่วมสมัยอยุธยําคือพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ แตอ่ ยํา่ งใด มเี พยี งเรอื่ งกํารกอ่ เจดยี เ์ จํา้ อํา้ ยเจํา้ ยต่ี รงทช่ี นชํา้ งเทํา่ นนั้ ทถี่ กู ระบไุ วใ้ นพงศําวดํารฉบบั นี้ (พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ ๒๕๑๕: ๔๔๖) จึงเป็นที่น่ําสงสัยว่ํา ในกรณอี นื่ ๆ นนั้ ถกู นํา มําสอดแทรกลงในเนอื้ หําทํางประวตั ศิ ําสตรเ์ มอื่ มกี ํารชํา ระพงศําวดํารในสมยั หลังลงมําหรือไม่
ประกํารทส่ี ําม หลกั ฐํานรว่ มสมยั เกยี่ วกบั กํารถวํายพระเพลงิ พระบรมศพของกษตั รยิ อ์ ยธุ ยํา กอ่ นกลํางพทุ ธศตวรรษที่ ๒๒ ปรํากฏในเอกสํารของแฟรน์ งั ด์ มงั เดซ ปนิ โต นกั เดนิ ทํางชําวโปรตเุ กส ที่บันทึกไว้ว่ําพระบรมศพของสมเด็จพระไชยรําชําธิรําชได้ถูกนําไปเผําที่วัดแห่งหนึ่งนอกพระนคร เพรําะมกี ํารจดั รว้ิ ขบวนพระบรมศพทํางเรอื (สนั ต์ ท.โกมลบตุ ร ๒๕๒๖: ๖๘-๖๙) มใิ ชก่ ํารสรํา้ งวดั บนที่ ถวํายพระเพลิงในภํายหลัง
ในทนี่ จี้ งึ ขอวเิ ครําะหเ์ นอื้ หําเรอ่ื งรําวในเอกสํารวํา่ มปี ระเพณบี ํางอยํา่ งในงํานประวตั ศิ ําสตร์ ของรําชสํา นกั ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตท้ มี่ กั นํา เอําเรอื่ งรําวทํางพทุ ธศําสนํามําเรยี บเรยี งเปน็ สว่ นหนงึ่ ของเอกสํารเชิงประวัติศําสตร์หรือพงศําวดํารเพ่ือเชื่อมโยงรัฐ/อําณําจักรเข้ําสู่ควํามศักดิ์สิทธิ์และ ชอบธรรม
กรรมวธิ ที พ่ี บในกลมุ่ เอกสํารประวตั ศิ ําสตรข์ องพมํา่ ,มอญ,ลํา้ นนํา,ลํา้ นชํา้ ง,นครศรธี รรมรําช และกัมพูชํา รวมไปถึงตํานํานกํารสร้ํางกรุงศรีอยุธยํา (พิเศษ เจียจันทร์พงศ์ ๒๕๕๕: ๑๐๗-๑๐๙) ไดแ้ ก่ เนอ้ื หําตอนตน้ กํา หนดใหพ้ ระพทุ ธองคแ์ สดงอทิ ธปิ ําฏหิ ํารยิ เ์ สดจ็ มํายงั เกําะลงั กําแลว้ ทรงปรําบ ชนพน้ื เมอื งจนชนะ พรอ้ มกบั แสดงธรรมเทศนําโปรดจนกระทงั่ ยอมรบั นบั ถอื พระพทุ ธศําสนํา จํากนนั้ จึงมี “พุทธทํานําย” เรื่องต่ํางๆ ว่ําในอนําคตกําลพื้นท่ีน้ันจะเกิดเป็นสถํานที่ใด ผู้ได้จะไปเกิดใหม่ ในฐํานะอะไรในที่น้ัน (ส่วนใหญ่คือปฐมกษัตริย์) แล้วเนื้อเรื่องจะนําออกจํากสมัยพุทธกําลและ เช่ือมต่อเข้ํากับตํานํานท้องถิ่นว่ําด้วยผู้ปกครองด้ังเดิมที่สืบวงศ์ครอบครองบ้ํานเมืองจนพัฒนํามํา เปน็ รฐั /อําณําจกั ร จนเขํา้ สจู่ ดุ ทเี่ รอื่ งรําวและบคุ คลทมี่ ตี วั ตนจรงิ ในประวตั ศิ ําสตรแ์ ละลํา ดบั ไปจนถงึ ระยะเวลําใกล้กับที่แต่งเอกสํารน้ัน ซ่ึงมักอยู่ในช่วงหลังพุทธศตวรรษที่ ๑๙ ลงมํา อันเป็นระยะที่ พุทธศําสนําสํานักลังกําได้แพร่หลํายไปท่ัวรัฐต่ํางๆ ในแถบนี้เป็นส่วนใหญ่
ดงั นนั้ โครงเรอื่ งเชน่ นจี้ งึ เปน็ กํารใชแ้ มแ่ บบจํากคมั ภรี ม์ หาวงส์ หรอื พงศาวดารลงั กา ซงึ่ ใช้ กํารผูกโยงเรื่องรําวในสมัยพุทธกําลเข้ําสู่กํารกําเนิดวงศ์กษัตริย์และบ้ํานเมืองของเกําะลังกํา ต่อมํา เมื่อบ้ํานเมืองแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ติดต่อทํางศําสนํากับลังกําจึงได้รับเอําแบบแผนเช่นนี้ไป เขียนเอกสํารประวัติศําสตร์ของตนที่เรียกว่ํา พงศําวดําร หรือ ตํานําน ด้วย (พิเศษ เจียจันทร์พงศ์ ๒๕๕๕: ๑๗๗-๑๑๘)
เสด็จสู่แดนสรวง
๒๘๘ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ