Page 291 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 291
ภําพที่ ๙ มกุฏพันธเจดีย์ หรือ รํามภําร ตรงสถํานที่ที่เชื่อว่ําถวํายพระเพลิง พระบรมศพของพระพุทธเจ้ํา เมืองกุสินํารํา อินเดีย (ทมี่ ํา: Patil,D.R.,2006. Kusinagara.New Delhi : Archaeological Survey of India,PlateVI.)
เร่ืองรําวสําคัญทํางพุทธศําสนําที่ระบุถึงควํามเกี่ยวข้องกันระหว่ําง “ศําสนสถําน” กับ “สถํานทถี่ วํายพระเพลงิ พระบรมศพ” มใี นเรอ่ื งกํารปลงพระบรมศพของพระพทุ ธองคท์ เี่ มอื งกสุ นิ ํารํา วํา่ เมอื่ ทรงเสดจ็ ดบั ขนั ธปรนิ พิ พํานแลว้ ไดอ้ ญั เชญิ พระบรมศพไปยงั “มกฎุ พนั ธเ์ จดยี ”์ ซงึ่ เปน็ สถํานที่ ศักด์ิสิทธิ์ของเหล่ํากษัตริย์มัลละเพื่อทํากํารถวํายพระเพลิง ต่อมําอีกรําวสองศตวรรษพระเจ้ําอโศก มหํารําชก็ได้ทรงสร้ํางสถูปและตั้งเสําลงบนสถํานท่ีดังกล่ําว ปัจจุบันยังมีหลักฐํานของสถูปที่ตั้งของ มกุฎพันธเจดีย์ท่ีกุสินํารําซึ่งเรียกกันในภํายหลังว่ํา “รํามําภําร” (Ramabhar) (Patil 2006: 9, 31) (ภําพท่ี ๙) สร้ํางในรําวสมัยโมริยะ-ศุงคะ (พุทธศตวรรษที่ ๓-๔) ซึ่งตอกย้ําว่ําได้มีกํารสร้ํางศําสน สถํานลงบนสถํานทปี่ ลงพระศพของพระพทุ ธองคแ์ มจ้ ะเปน็ ควํามเชอ่ื ทถ่ี กู ปฏบิ ตั หิ ลงั จํากเหตกุ ํารณ์ ท่ีเกิดขึ้นสมัยพุทธกําลลงมําถึง ๒๐๐-๓๐๐ ปีก็ตําม โดยกํารก่อสร้ํางมกุฎพันธเจดีย์ในสมัยหลังน้ี ย่อมแฝงเรื่องเน้นเกียรติยศของพระเจ้ําอโศกมหํารําชยิ่งกว่ํากํารรําลึกถึงพระพุทธองค์
พุทธศําสนิกชนในดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และดินแดนไทยคงรับรู้เนื้อหําเร่ืองรําว เหล่ํานี้ผ่ํานมําจํากเอกสํารโดยเฉพําะอย่ํางยิ่งคัมภีร์มหาวงส์ที่มีเน้ือหําเก่ียวข้องกับพระเจ้ําอโศก มหํารําช และเปน็ แมแ่ บบในกํารเรยี บเรยี งประวตั ศิ ําสตรข์ องรฐั ตงั้ แตร่ ําวพทุ ธศตวรรษที่ ๑๙-๒๐ ลงมํา ซง่ึ คงถอื กนั วํา่ เปน็ ธรรมเนยี มศกั ดสิ์ ทิ ธท์ิ จ่ี ะสถําปนําศําสนสถํานลงบนพน้ื ทป่ี ลงศพของบคุ คลสํา คญั
ดว้ ยเหตนุ ้ี ขอ้ ควํามในเอกสํารประวตั ศิ ําสตรข์ องอยธุ ยํานน้ั อําจไดร้ บั กํารแตง่ เตมิ เรอ่ื งรําว ในกํารสร้ํางวัดบนสถํานที่ที่เคยใช้ถวํายพระเพลิงพระบรมศพ/พระศพ โดยได้แนวคิดหลักมําจําก เรอื่ งรําวทํางพทุ ธศําสนํา ซงึ่ หลกั ฐํานทยี่ นื ยนั ควํามมลี กั ษณะเปน็ “ตํา นําน” ของธรรมเนยี มนี้ เหน็ ได้ จํากเรื่องท่ีเผําศพของพระยําโคดตะบองในพงศําวดํารเหนือซึ่งเป็นตํานํานที่กระจํายอยู่ในลุ่มน้ํา เจ้ําพระยําและอําจมีเค้ําของกํารสร้ํางบ้ํานแปงเมืองในช่วงระยะเวลําคําบเก่ียวกับช่วงก่อนและ ต้นกํารสถําปนํากรุงศรีอยุธยํา จํากน้ันจึงน่ําจะถูกนําไปใช้แต่งเติมเสริมในพระรําชพงศําวดํารท่ีถูก ชําระขึ้นในสมัยหลัง
4๑
ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๒๘๙
เสด็จสู่แดนสรวง