Page 293 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 293

ภําพที่ ๑๐.๑ แผนผังวัดใหญ่ชัยมงคล ประกอบดว้ ยเจดยี ป์ ระธํานมรี ะเบยี งคดลอ้ ม มีวิหํารหลวงตั้งอยู่ด้ํานหน้ําและอุโบสถทําง ด้ํานหลัง เป็นแบบแผนของผังวัดหลวง ในสมัยต้นกรุงศรีอยุธยํา
(ที่มํา: กรมศิลปํากร, ๒๕๑๑. พระราชวังและ วัดโบราณในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. พระนคร : กรมศิลปํากร,ไม่มีเลขหน้ํา.)
ภําพที่ ๑๑ เจดีย์รํายทํางปรําสําทยอด ของวดั พระรํามรปู แบบสมยั อยธุ ยําตอนตน้
4๑
ภําพที่ ๑๐.๒ แผนผังวัดพระรําม เป็นแบบอย่ํางผังวัดที่สร้ํางขึ้น ในสมัยอยุธยําตอนต้น คือมีปรํางค์ประธํานขนําดใหญ่ล้อมรอบด้วย ระเบียงคด (ที่มํา: กรมศิลปํากร, ๒๕๑๑. พระราชวังและวัดโบราณใน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. พระนคร : กรมศิลปํากร, ไม่มีเลขหน้ํา)
วัดราชบูรณะ นั้นแทบไม่มีข้อสงสัยว่ําสร้ํางในรําวกลํางถึงปลํายพุทธศตวรรษที่ ๒๐ ตําม เอกสํารระบุปี พ.ศ. ๑๙๖๗ องค์ปรํางค์ประธํานทรงอวบอ้วน ฐํานบัวลูกฟักซึ่งสืบจํากสถําปัตยกรรม เขมรยังคงถูกใช้รองรับเรือนธําตุ ปีกปรํางค์ได้คลี่คลํายกลํายเป็นอําคํารหลังเล็กๆ ขนําบข้ํางปรํางค์ บนฐํานไพที อิทธิพลจํากศิลปะพุกํามของพม่ําปรํากฏที่กํารสร้ํางเจดีย์ยอดเหนือสันหลังคํา ตรีมุข (สันติ เล็กสุขุม ๒๕๕๐: ๕๕) ขณะที่ผังของวัดยังคงเป็นแบบอยุธยําตอนต้น คือมีระเบียงคด ลอ้ มรอบปรํางคป์ ระธําน วหิ ํารหลวงดํา้ นหนํา้ มที ํา้ ยยน่ื เขํา้ มําในแนวระเบยี ง ทํางตะวนั ตกคอื พระอโุ บสถ
ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๒๙๑
เสด็จสู่แดนสรวง


































































































   291   292   293   294   295