Page 295 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 295
สว่ น เจดยี ส์ วมพระศพพระมหาอปุ ราช นนั้ เมอ่ื ตรวจสอบแลว้ พบวํา่ นํา่ จะเปน็ กํารเขยี น ประวตั ขิ องเจดยี แ์ ตง่ เตมิ เขํา้ ไปในเอกสํารในสมยั หลงั เนอ่ื งจํากขอ้ มลู บรบิ ททํางประวตั ศิ ําสตรบ์ ง่ วํา่ พระศพของพระมหําอุปรําชได้ถูกอัญเชิญกลับยังหงสําวดีพร้อมกับกํารถอยทัพเมื่อพ่ํายแพ้ต่อ กรุงศรีอยุธยําในครําวน้ัน (ตรี อมําตยกุล๒๕๑๘: ๑๑๒) และกํารวิเครําะห์รูปแบบเจดีย์ขนําดเล็กองค์ หนึ่งที่ตําบลตระพังตรุุุ อ.พนมทวน จ.กําญจนบุรี ซึ่งเคยเชื่อกันว่ําหมํายถึงเจดีย์องค์น้ี แต่กลับพบ ว่ําลักษณะทํางด้ํานศิลปกรรมและที่ตั้งรวมถึงเอกสํารไม่มีข้อใดบ่งชี้ว่ําหมํายถึงเจดีย์ท่ีสวมพระศพ ของพระมหําอุปรําชแต่อย่ํางใด (ตรี อมําตยกุล ๒๕๑๘: ๑๑๓) ด้วยเหตุนี้ เจดีย์สวมพระศพของมหํา อุปรําชจึงเป็นเรื่องที่ถูกสร้ํางขึ้นเป็นตํานํานเสียมํากกว่ํา
สําหรับปัญหําของวัดวรเชษฐารามน้ัน ปัจจุบันมีโบรําณสถํานช่ือ “วัดวรเชษฐ” สองแห่ง ไดแ้ กว่ ดั วรเชษฐํารําม (ในเกําะเมอื งอยธุ ยํา) มเี จดยี ป์ ระธํานทรงระฆงั ทรวดทรงปอ้ มเตย้ี ซงึ่ เปน็ งําน ในช่วงพุทธศตวรรษท่ี ๒๑ อีกแห่งคือ วัดวรเชตุเทพบํารุง (นอกเกําะเมือง) มีปรํางค์เป็นประธําน แผนผงั ปรํางคแ์ บบจตั รุ มขุ ไมม่ รี ะเบยี งคดลอ้ มรอบ ทรวดทรงรปู แบบคลํา้ ยปรํางคว์ ดั ไชยวฒั นํารําม ซึ่งสร้ํางใน พ.ศ. ๒๑๗๒ จึงน่ําจะมีอํายุใกล้เคียงกันซ่ึงเป็นตัวช้ีว่ําวัดวรเชตุเทพบํารุงอําจสร้ํางใกล้ เคียงกับเร่ืองรําวในสมัยสมเด็จพระเอกําทศรถ ช่วงกลํางพุทธศตวรรษท่ี ๒๒ ก็เป็นได้
จํากทกี่ ลํา่ วมําขํา้ งตน้ ทง้ั หมด จํากกํารวเิ ครําะหท์ ํางประวตั ศิ ําสตรศ์ ลิ ปะเพอ่ื ตรวจสอบขอ้ มลู ประวัติศําสตร์แล้ว พบว่ํา
๑. ศําสนสถํานทถี่ กู ระบถุ งึ วํา่ สรํา้ งบนพน้ื ทถี่ วํายพระเพลงิ นนั้ สว่ นใหญม่ อี ํายสุ มยั กํารสรํา้ ง รบั กนั กบั เอกสําร แมว้ ํา่ เรําจะไมส่ ํามํารถตรวจสอบไดโ้ ดยตรงวํา่ วดั ไดร้ บั กํารสรํา้ งบนจดุ ทถี่ วํายพระ เพลิงจริงหรือไม่ แต่อํายุสมัยที่สอดคล้องกันนี้พอจะอนุมํานได้ว่ํา พื้นที่ศําสนสถํานมีควํามสัมพันธ์ กับข้อมูลด้ํานระยะเวลํากํารสร้ํางในเอกสํารอยู่บ้ําง แต่อย่ํางไรก็ตําม นอกจํากข้อควํามในเอกสําร แล้ว ก็ไม่สํามํารถยืนยันได้จริงว่ําที่ต้ังโบรําณสถํานเหล่ํานี้จะเคยเป็นจุดท่ีใช้ทําพิธีถวํายพระเพลิง เพ่ือปลงศพเจ้ํานํายในสมัยอยุธยําแต่อย่ํางไร
๒. ในทํางกลับกัน หํากข้อเท็จจริงทํางประวัติศําสตร์ไม่มีกํารสร้ํางวัดบนพื้นที่ถวํายพระ เพลิงพระบรมศพ/พระศพ แต่เรําอําจพินิจได้ว่ําเหตุใดเรื่องรําวเหล่ําน้ีจึงถูกระบุเอําไว้ในเอกสําร ประวัติศําสตร์ และบํางครั้งระบุไว้ตรงกัน เช่น กล่ําวถึงท้ังในพระรําชพงศําวดําร ตํานําน และคํา ให้กําร แสดงว่ําเรื่องกํารสร้ํางศําสนสถํานบนที่ถวํายพระเพลิง ไม่ว่ําจะเกิดขึ้นจริงหรือไม่ก็ตําม เรื่องรําวที่ปรํากฏในเอกสํารน้ีได้แสดงวิธีคิดหรือควํามเชื่อของแบบเดียวกันลงมําจนถึงรําว พุทธศตวรรษท่ี ๒๓-๒๔ ซึ่งเป็นระยะที่เริ่มปรํากฏหลักฐํานเอกสํารพงศําวดํารให้เห็นมํากขึ้นและ ข้อควํามเรื่องรําวเช่นน้ียังถูกสอดแทรกเติมใส่ลงไป
ด้วยเหตุนี้จึงต้องอําศัยกํารวิเครําะห์จํากข้อมูลโบรําณคดีมําช่วยอธิบํายอีกขั้นตอนหน่ึง เพื่อเชื่อมโยงคติควํามเช่ือดั้งเดิมในดินแดนแถบนี้ นอกเหนือไปจํากเค้ําโครงเรื่องที่ได้วิเครําะห์มํา แล้วว่ํามีที่มําจํากคัมภีร์ทํางพุทธศําสนํา
4๑
ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๒๙3
เสด็จสู่แดนสรวง