Page 296 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 296
ข้อมูลทางโบราณคดี บ่งชี้การสร้างศาสนสถานบนพ้ืนที่ปลงศพ
แนวคดิ เกยี่ วกบั กํารสรํา้ งศําสนสถํานลงบนพนื้ ทปี่ ลงศพนนั้ หํากมองเฉพําะในงํานวเิ ครําะห์ จํากเอกสํารอําจพบวํา่ เปน็ เพยี งคตนิ ยิ มทม่ี งุ่ เนน้ ใหก้ ํารยกยอ่ งกบั ผสู้ รํา้ งศําสนสถํานในพน้ื ทปี่ ลงศพ ของบุคคลสําคัญโดยมีพระเจ้ําอโศกมหํารําชเป็นต้นแบบสําคัญ อย่ํางไรก็ตําม ในกํารศึกษําครั้งน้ี ได้นําเอําข้อมูลทํางโบรําณคดีมําวิเครําะห์ร่วมด้วยซึ่งทําให้ค้นพบประเด็นท่ีสอดสํานกันระหว่ําง เน้ือหําศักดิ์สิทธ์ิในคัมภีร์ทํางพุทธศําสนํากับควํามเชื่อในท้องถิ่นของดินแดนไทย
กํารดําเนินงํานทํางโบรําณคดีกับโบรําณสถํานที่เป็นศําสนสถํานบํางแห่งคือกํารขุด ตรวจสอบรํากฐํานของอําคํารทเี่ ปน็ ปรําสําทหรอื สถปู เจดยี ์ เชน่ ทปี่ รําสําทพมิ ํายและปรําสําทพนมวนั (ภําพท่ี ๑๓) จ.นครรําชสีมํา พบหลักฐํานว่ําใต้พื้นที่ปรําสําทดังกล่ําวมีโครงกระดูกสมัยก่อน ประวตั ศิ ําสตรใ์ นวฒั นธรรมยคุ โลหะฝงั อยู่ (พงศธ์ นั ว์ บรรทม ๒๕๔๔: ๒๑) (ภําพท่ี ๑๔) รวมทงั้ พนื้ ท่ี โดยรอบบริเวณศําสนสถํานก็มีชุมชนโบรําณสมัยก่อนประวัติศําสตร์กระจัดกระจํายกันอยู่ แสดงว่ํา ปรําสําทพิมํายและปรําสําทพนมวันน้ันเป็นพ้ืนที่ ที่พัฒนําขึ้นจํากชุมชนดั้งเดิมจนเข้ําสู่สมัย ประวัติศําสตร์ ที่น่ําสนใจคือกํารยังคงพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ในพิธีปลงศพเอําไว้โดยสร้ํางศําสนสถํานลง บนจุดเดิมท่ีใช้ปลงศพสมัยก่อนประวัติศําสตร์นั่นเอง
โบรําณสถํานสมยั สโุ ขทยั สองแหง่ ทเ่ี มอื งศรสี ชั นําลยั จ.สโุ ขทยั คอื วดั ชํา้ งลอ้ ม (ภําพท่ี ๑๕) ได้ขุดค้นพบโครงกระดูกถูกฝังอยู่ใต้ชั้นดินที่ก่อสร้ํางวัด (กรมศิลปํากร ๒๕๓๐: ๑๕๖-๑๖๓) (ภําพที่ ๑๖) และทวี่ ดั ชมชนื่ (ภําพที่ ๑๗) มผี ลกํารดํา เนนิ งํานทํางโบรําณคดที ไ่ี ดพ้ บโครงกระดกู มนษุ ยส์ มยั กอ่ นประวตั ศิ ําสตรต์ อนปลํายถงึ ตน้ สมยั ประวตั ศิ ําสตรอ์ ํายปุ ระมําณ ๑,๗๐๐ ปมี ําแลว้ (กรมศลิ ปํากร ๒๕๔๐: ๘๒-๘๓) มวี ดั สมยั สโุ ขทยั สรํา้ งทบั อยดู่ ํา้ นบน โดยเฉพําะกรณขี องวดั ชมชนื่ นนั้ ชน้ั ดนิ แสดง ควํามต่อเน่ืองจํากวัฒนธรรมสมัยก่อนประวัติศําสตร์ขึ้นมําถึงสมัยทวํารวดี อิทธิพลวัฒนธรรมเขมร และสุโขทัยตํามลําดับ (กรมศิลปํากร ๒๕๔๐: ๓๙-๕๐) (ภําพที่ ๑๘) โดยมีซํากโบรําณสถํานก่อด้วย อฐิ ทพี่ งั ทลํายและถกู สรํา้ งซอ้ นทบั กนั ขนึ้ มําบนพน้ื ทเี่ ดยี วกนั ตวั อําคํารดํา้ นบนสดุ เปน็ วหิ ําร มณฑป และเจดีย์ในศิลปะสุโขทัยซึ่งมีร่องรอยกํารใช้งํานจนถึงต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๑ เป็นอย่ํางน้อยจําก งํานปูนปั้นลํายกําบบนแบบศิลปะล้ํานนําประดับเสํามุมอําคํารที่คงเพิ่มเติมข้ึนเม่ือครําวปฏิสังขรณ์ ในสมยั ทเี่ มอื งศรสี ชั นําลยั ตกอยใู่ นอํา นําจของทํางเชยี งใหมเ่ ปน็ ระยะสนั้ ๆ ตอนตน้ พทุ ธศตวรรษที่ ๒๑ (กรมศิลปํากร ๒๕๔๐: ๓๐-๓๑)
กํารปลงศพสมยั กอ่ นประวตั ศิ ําสตรถ์ อื เปน็ พธิ กี รรมศกั ดสิ์ ทิ ธทิ์ ตี่ อ้ งใชบ้ รเิ วณทกี่ ลํางชมุ ชน เนื่องจํากควํามเชื่อดึกดําบรรพ์ก่อนกํารเข้ํามําของศําสนําจํากอินเดียคือกํารนับถือผีบรรพบุรุษ ดังน้ัน ท่ีใจกลํางชุมชนจึงเป็นท่ีสถิตของผีปู่ย่ําตํายําย และถูกใช้ประกอบพิธีกรรมร่วมกันของชุมชน เช่น กํารเล้ียงผี เม่ือมีกํารรับศําสนําจํากภํายนอกคือพุทธศําสนําหรือศํานําพรําหมณ์ฮินดูเข้ํามําจึง สร้ํางศําสนสถํานท่ีเป็นวัดวําอํารํามสถูปเจดีย์ซ้อนทับลงไปตรงพื้นที่เดิม (สุจิตต์ วงษ์เทศ ๒๕๔๗: ๖๓-๗๕)
ดังนั้น ตัวอย่ํางของศําสนสถํานที่ได้กล่ําวมํานี้ แสดงถึงควํามเชื่ออย่ํางหน่ึงที่สืบต่อจําก สมัยก่อนประวัติศําสตร์ลงมําว่ํา พื้นท่ีศักดิ์สิทธิ์ของชุมชนจะยังคงถูกใช้งํานอยู่เสมอแม้จะมีศําสนํา ควํามเชอื่ ใหมเ่ ขํา้ มํา โดยศําสนสถํานทกี่ อ่ สรํา้ งขน้ึ เปน็ ถําวรวตั ถกุ ย็ งั คงใชท้ ต่ี ง้ั บน “สสุ ําน” ทเี่ คยใช้
เสด็จสู่แดนสรวง
๒๙4 ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ