Page 292 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 292
กล่ําวโดยสรุปจํากกํารวิเครําะห์ข้อควํามในเอกสําร ทําให้พบว่ําเรื่องกํารสร้ํางวัดบนสถําน ที่ปลงพระบรมศพ/พระศพเช่นน้ีน่ําจะเป็นเรื่องรําวปรัมปรําที่ได้จํากคัมภีร์นํามําแต่งเติมให้เอกสําร ประวตั ศิ ําสตร์ โดยพบวํา่ จดุ ประสงคห์ นง่ึ กค็ งเฉพําะถวํายเกยี รตยิ ศแกผ่ สู้ รํา้ งศําสนสถํานนน้ั มํากกวํา่ เพ่ือควํามแน่ชัดว่ําธรรมเนียมดังกล่ําวได้รับกํารปฏิบัติจริงหรือไม่ในสมัยอยุธยําจึงต้องตรวจสอบ หลักฐํานที่เก่ียวข้องเท่ําท่ีเหลืออยู่ ได้แก่รูปแบบศิลปกรรมของวัดวําอํารํามท่ีถูกกล่ําวอ้ํางถึง เพื่อทรําบถึงควํามสัมพันธ์ระหว่ํางเรื่องรําวในเอกสํารกับอํายุสมัยของหลักฐํานทํางโบรําณคดีให้ แน่ชัดยิ่งข้ึน
งานศิลปกรรม บ่งชี้อายุสมัยของศาสนสถานที่อาจสร้างบนพื้นที่ถวายพระเพลิง
กํารตรวจสอบข้อมูลเอกสํารกับหลักฐํานศิลปกรรมว่ํามีควํามสอดคล้องกันหรือไม่อําจเป็น แนวทํางใหเ้ รําทรําบถงึ ขอ้ เทจ็ จรงิ เกย่ี วกบั กํารสรํา้ งศําสนสถํานบนทปี่ ลงศพสมยั อยธุ ยํา ซงึ่ สว่ นมําก เป็นที่ทรําบกันดีในปัจจุบันว่ําหมํายถึงโบรําณสถํานแห่งใด และรูปแบบศิลปกรรมของศําสนสถําน เหล่ํานี้ได้รับกํารศึกษําไว้ค่อนข้ํางชัดเจนแล้ว มีเพียงบํางแห่งที่ไม่อําจระบุได้จริงเพรําะเอกสํารและ ควํามทรงจําได้คลําดเคลื่อนไป
วัดป่าแก้ว/วัดเจ้าพระยาไท/วัดใหญ่ชัยมงคล ซึ่งมีเจดีย์ทรงระฆังฐํานแปดเหลี่ยม เปน็ ประธําน แตเ่ ดมิ มกั เชอื่ กนั ตํามเอกสํารวํา่ สรํา้ งโดยสมเดจ็ พระนเรศวร แตจ่ ํากกํารตรวจสอบพบ ว่ําข้อมูลเอกสํารท่ีกล่ําวถึงควํามเกี่ยวข้องกับสมเด็จพระนเรศวรนั้นกลับเป็นเน้ือหําท่ีสมเด็จฯ กรมพระยําดํารงรําชํานุภําพทรงสอดแทรกเอําไว้ในภํายหลังเมื่อทรงพระนิพนธ์ พระราชประวัติ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ขึ้นในช่วงทศวรรษ ๒๔๘๐ (พิเศษ เจียจันทร์พงษ์ ๒๕๕๓ : ๖๐-๖๑)
ผังของวัดใหญ่ชัยมงคลมีเจดีย์ประธํานล้อมรอบด้วยระเบียงคด ทํางทิศตะวันออกเป็น พระวิหํารหลวงมีรํากฐํานส่วนท้ํายที่เคยยื่นเข้ํามําภํายในแนวระเบียงคด ส่วนทิศตะวันตกมีอําคําร ท่ีน่ําจะเคยเป็นพระอุโบสถ คล้ํายคลึงกันกับผังของวัดพระรําม (ภําพที่ ๑๐) รูปแบบผังเช่นนี้ นยิ มกนั ในสมยั อยธุ ยําตอนตน้ ประกอบกบั รปู แบบของเจดยี ป์ ระธํานเปน็ เจดยี ท์ รงระฆงั แปดเหลย่ี ม ท่ีคล่ีคลํายมําจํากเจดีย์ทรงปรําสําทแปดเหล่ียมในระยะพุทธศตวรรษท่ี ๑๙-๒๐ ดังนั้น รูปแบบผัง และสถําปัตยกรรมของเจดีย์จึงยืนยันว่ําวัดแห่งน้ีสร้ํางในช่วงปลํายพุทธศตวรรษที่ ๑๙ ถึงต้น พุทธศตวรรษที่ ๒๐ (สันติ เล็กสุขุม ๒๕๕๐: ๘๓)
วัดพระราม โดยผังของวัดที่ได้กล่ําวมําแล้วว่ําเป็นลักษณะช่วงอยุธยําตอนต้น (สันติ เลก็ สขุ มุ ๒๕๕๐: ๔๔) โดยมปี รํางคใ์ หญเ่ ปน็ ประธํานซงึ่ เปน็ ธรรมเนยี มกํารสรํา้ งวดั ในชว่ งแรกๆ ของ กรุงศรีอยุธยํา ทรวดทรงของปรํางค์ยังค่อนข้ํางอ้วนป้อม และอําจมีกํารซ่อมแซมในสมัยหลัง ทํา ใหด้ เู พรยี วขนึ้ เลก็ นอ้ ย ปกี ปรํางคห์ รอื ปรํางคข์ นําดเลก็ ขนําบขํา้ งคลํา้ ยระบบผงั ปรําสําทสํามหลงั แบบเขมร (ดูภําพท่ี ๑๐) เจดีย์บริวํารบนฐํานไพทีเป็นเจดีย์ทรงปรําสําทยอดซ่ึงเป็นอิทธิพลจําก ศิลปะสุโขทัย (ภําพท่ี ๑๑) เช่นเดียวกับเจดีย์บริวํารรอบปรํางค์ประธํานวัดมหําธําตุอยุธยําซึ่ง สรํา้ งขนึ้ ใน พ.ศ. ๑๙๑๗ ลว้ นเปน็ รปู แบบของวดั หลวงในชว่ งครงึ่ แรกพทุ ธศตวรรษที่ ๒๐ ของอยธุ ยํา (สันติ เล็กสุขุม ๒๕๕๐: ๕๗, ๘๘-๘๙)
เสด็จสู่แดนสรวง
๒๙๐ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ