Page 299 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 299

จํากกํารวิเครําะห์ตํามลําดับต้ังแต่ข้อมูลเอกสํารท่ีให้ภําพของกํารสร้ํางศําสนสถําน ลงบนพนื้ ทปี่ ลงพระบรมศพ/พระศพในสมยั อยธุ ยําวํา่ อําจมที มี่ ําจํากคมั ภรี ท์ ํางพทุ ธศําสนําตอนหลงั จํากพระพุทธองค์เสด็จดับขันธปรินิพพํานโดยถูกนํามําสอดแทรกในเอกสํารประวัติศําสตร์ท่ีเรียบ เรียงขึ้นในสมัยโบรําณ เพ่ือเน้นย้ํากํารปลงศพบุคคลสําคัญและเป็นเกียรติยศแก่ผู้สร้ํางเสมอด้วย พระเจ้ําอโศกมหํารําชผู้สร้ํางสถูปที่มกุฏพันธเจดีย์อันเป็นสถํานที่ถวํายพระเพลิงพระบรมศพของ พระพทุ ธองค์ นําไปสู่กํารพิสูจน์อํายุสมัยของศําสนสถํานสมัยอยุธยําจนพบว่ําวัดวําอํารํามที่ตรวจ สอบได้ว่ําถูกกล่ําวอ้ํางถึงในเนื้อหําดังกล่ําวของพงศําวดํารหรือตํานํานนั้นมีอํายุใกล้เคียงกันกับท่ี เอกสํารระบไุ วจ้ รงิ แสดงว่ําธรรมเนียมดังกล่ําวว่ําอําจเป็นได้ทั้งงํานเอกสํารที่ดําเนินตํามประเพณี ทํางพุทธศําสนําคือใชเ้ นอื้ ควํามในคมั ภรี ม์ ําสอดแทรกเรอื่ งรําวตํามพทุ ธประวตั แิ ละอําจถกู ปฏบิ ตั จิ รงิ ในฐํานะทมี่ กี ํารสรํา้ งศําสนสถํานเพอื่ อทุ ศิ สว่ นกศุ ลใหแ้ กผ่ วู้ ํายชนม์ (ในลกั ษณะทพ่ี เิ ศษ มใิ ชก่ ํารทํา เปน็ ปรกต)ิดว้ยเหตนุี้ลักษณะกํารสร้ํางวัดบนสถํานท่ีปลงศพจึงไปสอดคล้องกับข้อมูลทํางโบรําณคดี ทสี่ ะทอ้ นประเพณสี บื ตอ่ กํารใชง้ ํานพนื้ ทศี่ กั ดส์ิ ทิ ธท์ิ ํางควํามเชอื่ ของผคู้ นในดนิ แดนไทยจํากสมยั กอ่ น ประวัติศําสตร์ลงมําจนกระทั่งกลํายเป็นที่ต้ังศําสนสถํานจํากภํายนอก (พุทธ-พรําหมณ์) ซ่ึงเห็น ได้ว่ํามีพลวัตท่ีเก่ียวเนื่องกันอย่ํางไม่ขําดสําย และยังสอดรับกับเนื้อหําทํางพุทธศําสนําในคัมภีร์ อย่ํางแนบเนียน
เปน็ ทนี่ ํา่ เสยี ดํายวํา่ ไมอ่ ําจตรวจสอบทํางใดไดเ้ ลยวํา่ พนื้ ทส่ี รํา้ งวดั บํางแหง่ ทพี่ สิ จู นอ์ ํายสุ มยั ได้ใกล้เคียงกับเหตุกํารณ์ในเอกสํารจะเคยเป็นสถํานที่ถวํายพระเพลิงพระบรมศพจริง แต่หลักฐําน โบรําณคดีได้บ่งชี้ว่ํากํารสร้ํางศําสนสถํานบนพื้นท่ีปลงศพนั้นเป็นสิ่งท่ีถูกทําสืบเนื่องกันมําจริง อย่ํางน้อยจนถึงสมัยสุโขทัยซึ่งร่วมกันกับต้นกรุงศรีอยุธยําด้วย ซึ่งอําจเป็นไปได้หรือไม่ว่ําประเพณี ดังกล่ําวสุดท้ํายแล้วได้เลือนมําปรํากฏอยู่เพียงกํารแต่งลงในเอกสํารท่ีว่ําด้วยกํารสร้ํางวัดเท่ํานั้น
จึงไม่น่ําแปลกใจว่ําเร่ืองรําวดังกล่ําวจะถูกเรียบเรียงขึ้นในเอกสํารประวัติศําสตร์รูปแบบ ต่ํางๆ เช่นตํานํานและพงศําวดําร โดยเป็นขนบของกํารเอําแบบอย่ํางเค้ําโครงเรื่องจํากคัมภีร์ พุทธศําสนําที่สอดคล้องกับประเพณีเก่ําแก่ที่มีกํารสืบต่อกํารใช้พ้ืนที่ศักดิ์สิทธิ์ด้วยกํารสร้ําง ศําสนสถํานลงบนพื้นที่ที่ปลงศพตํามหลักฐํานทํางโบรําณคดีที่พบ สะท้อนให้เห็นกํารยืดหยุ่นของ กระบวนกํารทํางพุทธศําสนําที่ย้อมเคลือบเอําลัทธิด้ังเดิมไว้เป็นส่วนหน่ึงได้
ดว้ ยเหตนุ ้ี ไมว่ ํา่ วดั ทถี่ กู ระบใุ นเอกสํารจะสรํา้ งขน้ึ บนทถี่ วํายพระเพลงิ พระบรมศพ/พระศพ หรอื ไมก่ ต็ ําม แตเ่ รําไดเ้ หน็ วธิ คี ดิ ในควํามเชอื่ ดกึ ดํา บรรพท์ ย่ี งั ตกคํา้ งถกู ใชอ้ ยใู่ นสงั คมไทย อยํา่ งนอ้ ย จนถงึ สมยั แรกเรม่ิ ของยคุ รตั นโกสนิ ทรท์ ย่ี งั “คง” หรอื “เพม่ิ เตมิ ” เนอื้ หําเรอ่ื งกํารสรํา้ งวดั บนทถ่ี วําย พระเพลิงพระบรมศพเอําไว้ในกํารชําระพระรําชพงศําวดํารเหล่ําน้ีด้วย ทั้งนี้ไม่ว่ําวัดท่ีถูกกล่ําวถึง จะสรํา้ งบนสถํานทถ่ี วํายพระเพลงิ หรอื ไมก่ ม็ ใิ ชป่ ระเดน็ สํา คญั ไปกวํา่ ควํามตงั้ ใจจะแสดงคตทิ ยี่ กยอ่ ง ผู้สร้ํางศําสนสถํานบนสถํานท่ีปลงศพตํามแบบอย่ํางของบุคคลสําคัญทํางพุทธศําสนํานั่นเอง
๒๕๐๗: ๓๓๑) (ภําพที่ ๑๙) และพอเขํา้ สสู่ มยั อยธุ ยําตอนปลํายนนั้ กํารสรํา้ งวดั วําอํารํามไดล้ ดลงมําก จึงไม่ปรํากฏว่ํามีข้อควํามในเอกสํารกล่ําวถึงวัดที่สร้ํางบนที่ปลงศพอีก
บทสรุป
4๑
ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๒๙๗
เสด็จสู่แดนสรวง


































































































   297   298   299   300   301