Page 301 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 301
กระบวนทัศน์ท่ีแปรเปลี่ยน ในการออกแบบพระเมรุในสมัยรัตนโกสินทร์
อาจารย์ ดร.เกรียงไกร เกิดศิร๑ิ , วรินทร์ รวมสาราญ๒, ภัทร ราหุล๓, วิษณุ หอมนาน๑ กุลพัชร์ เสนีวงศ์ ณ อยุธยา๑, แสงจันทร์ ผู้อยู่สุข๓
กล่าวนา
รํากเหง้ําเค้ํามูลของประเพณีปลงศพของผู้วํายชนม์ด้วยกํารเผําสรีระไร้วิญญําณด้วย พระเพลิงที่ปรํากฏในดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นั้น มีต้นกําเนิดมําจํากอนุทวีปอินเดีย มําแต่โบรําณ ทั้งในศําสนําฮินดู และศําสนําพุทธ สําหรับธรรมเนียมกํารปลงศพของพุทธศําสนิกชน ท่ีแม้ว่ําจะมีกํารเผําร่ํางไร้วิญญําณเช่นเดียวกันกับธรรมเนียมฮินดู แต่ทว่ําจะมีกํารเก็บเถ้ําอัฐิและ อังคํารบรรจุในภําชนะดินเผําฝังดินไว้แล้วจึงสร้ํางมูลดินไว้ด้ํานบนเพื่อเป็นหมุดหมํายซึ่งกํารสร้ําง มูลดินดังกล่ําวได้พัฒนําสู่กํารสร้ํางเจดีย์ไว้เป็นเครื่องหมํายในภํายหลัง ซึ่งส่งอิทธิพลต่อมํายัง ธรรมเนียมกํารปลงศพ และกํารเก็บรักษําอัฐิในดินแดนลุ่มแม่น้ําเจ้ําพระยํา
นอกจํากนี้ ด้วยจักรวําลทัศน์ในพระพุทธศําสนําที่พัฒนําขึ้นอย่ํางเฉพําะตัวในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้และสอดคล้องกับกํารสถําปนําควํามหมํายอันสลับซับซ้อนในกํารพิธีที่เกี่ยวเนื่อง กับสถําบันกษัตริย์เพ่ือแสดงควํามหมํายทิพยภําวะท่ีแตกต่ํางไปจํากมนุษย์ปุถุชน พิธีกรรมปลงศพ จงึ ทวคี วํามสลบั ซบั ซอ้ นอยํา่ งยงิ่ โดยเฉพําะพระรําชพธิ ถี วํายพระเพลงิ พระบรมศพพระมหํากษตั รยิ ์ ในสมัยอยุธยํา ทว่ําเม่ือกําลที่บ้ํานเมืองแตกดับ และมีกํารสถําปนํารําชธํานีใหม่ก็ทําให้กํารส่งผ่ําน ระเบียบปฏิบัติของพระรําชพิธีเป็นไปอย่ํางไม่สมบูรณ์ เพรําะอยู่ภํายใต้สภําวะกํารณ์ท่ีคับขันและ ทรพั ยํากรตํา่ งๆ มจี ํา กดั ทํา ใหพ้ ระรําชภํารกจิ ทสี่ ํา คญั ของปฐมกษตั รยิ แ์ หง่ กรงุ รตั นโกสนิ ทรป์ ระกําร หนึ่ง คือ กํารชําระสะสํางธรรมเนียมที่เกี่ยวเนื่องกับรําชสํานัก พระรําชพิธี กฎหมํายที่เป็นกลไกใน กํารปกครองรําชอําณําจกั ร และพระไตรปฎิ กทใี่ ชเ้ ปน็ กลไกในกํารปกครองพทุ ธจกั รทชี่ ว่ ยสนบั สนนุ ควํามมั่นคงของพระรําชอํานําจและสถําบันกษัตริย์
๑ คณะสถําปัตยกรรมศําสตร์ มหําวิทยําลัยศิลปํากร ๒ คณะสถําปัตยกรรมศําสตร์ มหําวิทยําลัยพะเยํา
๓ สถําปนิกอิสระ
5๑
ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๒๙๙
เสด็จสู่แดนสรวง