Page 302 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 302
งํานพระเมรุในสมัยอยุธยําจึงเป็นเครื่องมือที่สําคัญในฐํานะของพระรําชพิธีท่ีแสดงออกถึง ทิพภําวะและควํามเป็นสมมติเทพของพระมหํากษัตริย์ได้เป็นอย่ํางดี ผ่ํานกระบวนกําร พิธีกรรม และข้ันตอนอันสลับซับซ้อน ดังที่นิโกลําส์ แชรแวส ได้กล่ําวว่ํา “ในศาสนาของชนชาวสยามนั้น ไมม่ พี ธิ กี ารใดทจ่ี ะกระทา กนั อยา่ งมโหฬารและพธิ รี ตี องมากเทา่ กบั การทา ศพ...งานศพของพวกผดู้ ี มีเงินนั้นกระทากันอย่างหรูหราและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมาก... โดยเฉพาะพระศพสมเด็จพระบรม ราชินีนาถ การใช้จ่ายอย่างล้นเหลือฟุ่มเฟือย และความมโหฬารพันลึก ได้มีอยู่อย่างเหลือที่จะ พรรณนาได้หมดสิ้น... ไม่เคยมีผู้กล่าวขวัญถึงความยิ่งใหญ่ของงานมหกรรมเท่ากับเมื่อครั้งนั้นมา แต่ก่อนเลย...” (นิโกลําส์ แชรแวส ๒๕๐๖: ๒๐๒-๒๐๘)
กํารออกแบบสถําปัตยกรรมและศิลปะเก่ียวเน่ืองดังกล่ําวสะท้อนให้เห็นถึงกํารตีควํามคติ สัญลักษณ์ และจักรวําลทัศน์ตํามแนวควํามคิดของลัทธิเทวรําชํา ซึ่งนอกจํากจะมีประโยชน์ใช้สอย ตํามหนํา้ ทแี่ ลว้ สถําปตั ยกรรมเฉพําะกจิ นยี้ งั ทํา หนํา้ ทเี่ ปน็ “ควํามหมําย” ทซี่ บั ซอ้ นของคตสิ ญั ลกั ษณ์ จักรวําลทัศน์ และควํามหมํายในแง่ของกํารสร้ําง “สิทธิธรรม” รวมถึงกํารประกําศพระรําชอํานําจ อันหําขอบเขตมิได้ในฐํานะ “สมมติเทพ” เป็นคร้ังสุดท้ํายก่อนจะเสด็จกลับสู่สรวงสวรรค์
สําหรับบทควํามชิ้นน้ีจึงมุ่งศึกษําต่อยอดกํารศึกษําที่ผ่ํานมําในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ พัฒนํากํารของแบบแผนของพระเมรุในแผ่นดินรัตนโกสินทร์ว่ําผลลัพธ์ทํางวัฒนธรรมท่ีเกิดขึ้น เป็นที่ประจักษ์ในรูปของ “พระเมรุ” น้ันสะท้อนให้เห็นถึงควํามเปลี่ยนแปลงทํางสังคมอย่ํางไร โดยมองผ่ํานพระเมรุ และพระเมรุมําศในสมเด็จพระมหํากษัตริย์ และพระบรมวงศํานุวงศ์ช้ันสูง เท่ําที่พอจะมีหลักฐํานประจักษ์
สังเขปรูปแบบทางสถาปัตยกรรมพระเมรุแบบแผนอยุธยาจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์
สําหรับเป็นพื้นฐํานในกํารทําควํามเข้ําใจในประเด็นเรื่องควํามเปลี่ยนแปลงของแบบแผน พระเมรุเนื่องในพระมหํากษัตริย์ และพระศพพระบรมวงศํานุวงศ์ชั้นสูงตํามท่ีบทควํามนี้มุ่งอธิบําย เพ่ือแสดงให้เห็นถึงพลวัตทํางสังคมน้ัน
ในที่น้ีขออธิบํายรูปแบบทํางสถําปัตยกรรมของพระเมรุแบบแผนอยุธยําโดยสังเขป กลํา่ วคอื จํากกํารศกึ ษําเอกสํารทํางประวตั ศิ ําสตรแ์ ละหลกั ฐํานเชงิ ประจกั ษอ์ นื่ ๆ พบวํา่ ในสมยั อยธุ ยํา ตอนปลํายนั้น แบบแผนงํานพระเมรุได้มีระบบระเบียบที่ซับซ้อนทว่ําชัดเจนที่สํามํารถฉํายให้เห็น ผ่ํานรูปแบบทํางสถําปัตยกรรมอันแสดงให้เห็นถึงระบบทํางสังคมที่ซับซ้อนของสมัยปลําย กรุงศรีอยุธยําได้เป็นอย่ํางดี กล่ําวคือ มีกํารจําแนกฐํานํานุศักดิ์ของพระเมรุออกเป็น ๓ ประเภท คือ
พระเมรุท่ีมีฐํานํานุศักดิ์สูงท่ีสุด คือ “พระเมรุเอก” มีลักษณะเป็นสถําปัตยกรรมเฉพําะกิจ ซึ่งสร้ํางขึ้นชั่วครําวในรูปแบบของอําคํารทรงปรําสําทยอดปรํางค์ มีปรํางค์หลักและปรํางค์บริวําร ทเ่ี รยี กวํา่ ปรํางคท์ ศิ และปรํางคแ์ ซกรวมเปน็ ปรํางคเ์ กํา้ ยอด และมหี นํา้ พรหมพกั ตร์ ภํายในพระเมรุ มีพระเมรุมําศท่ีทําหน้ําท่ีประดิษฐํานจิตกําธํานในกํารถวํายพระเพลิงพระบรมศพอยู่ภํายใน พระเมรุมําศ
พระเมรุที่มีฐํานํานุศักดิ์รองลงมํา คือ “พระเมรุโท” มีลักษณะเป็นสถําปัตยกรรมเฉพําะกิจ ซ่ึงสร้ํางขึ้นช่ัวครําวในรูปแบบของอําคํารทรงปรําสําทยอดปรํางค์ มีปรํางค์หลักและปรํางค์บริวําร
เสด็จสู่แดนสรวง
3๐๐ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ