Page 312 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 312

ชว่ ยใหส้ ํามํารถกํา หนดอํายขุ องงํานครงั้ นไี้ ดอ้ ยํา่ งกวํา้ งๆ จํากภําพจะเหน็ วํา่ ตงั้ อยทู่ รงทศิ ตะวนั ออก ของพระอุโบสถวัดบวรสถํานสุทธําวําส และมีคลองโรงไหมอยู่ด้ํานข้ําง แสดงว่ํา นอกจํากงํานพระ เมรุมําศสําหรับสมเด็จพระบรมโอรสําธิรําช เจ้ําฟ้ํามหําวชิรุณหิศ สยํามมกุฎรําชกุมํารแล้วยังมีงําน พระเมรุอย่ํางน้อยอีกหนึ่งครั้งที่จัดตรงบริเวณนี้ อย่ํางไรก็ตําม จํากกํารศึกษําของศําสตรําจํารย์ กิตติคุณ ม.ร.ว. แน่งน้อย ศักดิ์ศรี และคณะ (๒๕๕๕) ได้สันนิษฐํานว่ํา อําคํารเฉพําะกิจในภําพท่ี ๑๑ คือ เมรุเจ้ําคุณจอมมํารดําสําลี พ.ศ.๒๔๔๔ ซึ่งเป็นเมรุผ้ําขําว
ภําพที่ ๑๑ ภําพถํา่ ยเกํา่ พระเมรทุ รงปรําสําทยอดมณฑป หลักฐํานไม่เพียงพอต่อกํารสันนิษฐํานว่ําเป็นพระเมรุ สําหรับเจ้ํานํายพระองค์ใด ทว่ําเกิดขึ้นภํายหลังท่ี พระรําชวังบวรสถํานมงคล หรือวังหน้ําได้ลดบทบําทลง แล้ว เนื่องจํากพระเมรุองค์นี้สร้ํางอยู่ริมคลองโรงไหม ด้ํานหลังแลเห็นพระอุโบสถวัดบวรสถํานสุทธําวําส
จากพระเมรุใหญ่ สู่พระเมรุมาศ กระบวนทัศน์ใหม่ภายใต้สภาวะแวดล้อมร่วมสมัย
ในสถํานภําพควํามรู้ในปัจจุบันเป็นที่รับทรําบกันอย่ํางกว้ํางขวํางแล้วว่ํา พระเมรุใน พระรําชพธิ ถี วํายพระเพลงิ พระบรมศพรชั กําลท่ี ๕ ไดค้ งเหลอื กํารกอ่ สรํา้ งเฉพําะองค์ “พระเมรมุ ําศ” ซึ่งแต่เดิมเป็นอําคํารที่ตั้งอยู่ภํายใน “พระเมรุใหญ่” ทว่ําในควํามจริงพระเมรุองค์แรกๆ ท่ีได้ยกเลิก กํารก่อสร้ํางพระเมรุใหญ่คงเหลือเฉพําะพระเมรุมําศทรงมณฑปเท่ํานั้น คือ พระเมรุสําหรับ พระรําชทํานเพลิงพระศพสมเด็จพระบรมโอรสําธิรําช เจ้ําฟ้ํามหําวชิรุณหิศ สยํามมกุฎรําชกุมําร ซึ่งเป็นที่น่ําสนใจว่ํา กํารก่อสร้ํางพระเมรุมําศในครําวนี้ได้แสดงให้เห็นควํามเปลี่ยนแปลงของชุด ควํามคิดหลํายประกํารซ่ึงนําไปสู่พระบรมรําชวินิจฉัยในกํารสร้ํางพระเมรุมําศในรัชกําลที่ ๕ ให้คงมี เฉพําะกํารก่อสร้ํางพระเมรุมําศเป็นอําคํารทรงมณฑป โดยตัดกํารก่อสร้ํางพระเมรุใหญ่ออกไปด้วย เหตุผลถึงบริบทร่วมสมัยในช่วงเวลําดังกล่ําว รวมทั้งรัชกําลที่ ๕ ยังโปรดเกล้ําฯ ให้ก่อสร้ํางอําคําร ท่ีมีควํามถําวร
นอกจํากนี้ หํากพิจํารณําในบริบทก่อนหน้ํานี้จะเห็นว่ํา ในกํารทิวงคตของกรมพระรําชวัง บวรวิไชยชําญ ในปี พ.ศ.๒๔๒๘ รัชกําลที่ ๕ ได้โปรดพระรําชทํานให้ก่อสร้ํางพระเมรุใหญ่ตําม ธรรมเนยี ม ดงั ปรํากฏกลํา่ วถงึ ในราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ท่ี ๑ หนํา้ ๕๓๓-๕๓๖ ซง่ึ ในทนี่ ้ี สนั นษิ ฐํานวํา่ รัชกําลที่ ๕ โปรดเกล้ําฯ พระรําชทํานให้ตํามแบบแผนท่ีปฏิบัติกันมํายังไม่ได้ให้เปล่ียนแปลง เนื่องจํากในสภําวกํารณ์ควํามสัมพันธ์ระหว่ํางวังหลวงและวังหน้ํานั้นไม่สู้ดีนัก หํากโปรดเกล้ําฯ ให้ เปลี่ยนแปลงแบบแผนในกํารณ์คร้ังน้ีก็จะมีผู้ตีควํามไปในทํางลบได้
จนกระทั่งครําวงํานพระเมรุสมเด็จพระบรมโอรสําธิรําช เจ้ําฟ้ํามหําวชิรุณหิศ สยํามมกุฎ รําชกุมําร ซ่ึงสวรรคตในปี พ.ศ.๒๔๓๗ และจัดงํานพระเมรุในปี พ.ศ.๒๔๔๓ รัชกําลท่ี ๕ จึงโปรด เกล้ําฯ ให้ก่อสร้ํางเฉพําะ “พระเมรุมําศ” ไม่ก่อสร้ํางพระเมรุใหญ่ โดยมีลักษณะเป็นอําคํารทรง
เสด็จสู่แดนสรวง
3๑๐ ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ


































































































   310   311   312   313   314