Page 315 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 315

รูปแบบของพระเมรุมําศทรงมณฑปได้เป็นแบบแผนของพระเมรุมําศสําหรับพระรําชพิธี ถวํายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระมหํากษัตริย์สืบต่อมํา กล่ําวคือ พระเมรุมําศพระบําทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้ําเจ้ําอยู่หัว รัชกําลที่ ๖ (พ.ศ.๒๔๖๘) ซึ่งสมเด็จฯ เจ้ําฟ้ํากรมพระยํานริศรํานุวัดติงศ์ เป็นผู้ “คิดอย่ํางและตรวจตรํา” โดยมีหลวงสมิทธิเลขํา (อู๋ ลําภํานนท์) เป็น “ผู้เขียน” (สมคิด จิระทัศนกุล ๒๕๕๖: ๘๒๐) พระเมรุมําศพระบําทสมเด็จพระปรเมนทรมหําอํานันทมหิดล พระอัฐม รํามําธบิ ดนิ ทรออกแบบโดยศําสตรําจํารยพ์ ระพรหมพจิ ติ ร(อู๋ลําภํานนท)์ และพระเมรมุ ําศพระบําท สมเด็จพระปรมินทรมหําภูมิพลอดุลยเดช ออกแบบโดยคณะทํางํานจํากสํานักสถําปัตยกรรม กรมศลิ ปํากร กระทรวงวฒั นธรรม ตํา่ งกใ็ ชแ้ บบแผนกํารกอ่ สรํา้ งพระเมรมุ ําศเปน็ ทรงบษุ บกเฉกเชน่ พระเมรุมําศพระบําทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ําเจ้ําอยู่หัวสืบต่อกันมํา
พระเมรุมาศ-พระเมรุฝีพระหัตถ์สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
สํา หรบั พระเมรมุ ําศ และพระเมรทุ เ่ี ปน็ ฝพี ระหตั ถข์ องสมเดจ็ ฯ กรมพระยํานรศิ รํานวุ ดั ตวิ งศ์ นั้นใช้ข้อมูลตํามกํารศึกษําของรองศําสตรําจํารย์สมคิด จิระทัศนกุล ที่ได้วิเครําะห์ในประเด็นเร่ือง กํารลงนํามและกํารใชส้ ญั ลกั ษณป์ ระจํา พระองคก์ ํา กบั บนผลงํานทที่ รงออกแบบ (สมคดิ จริ ะทศั นกลุ ๒๕๕๖: ๗๘๑-๗๘๓) ดังมีรํายละเอียดต่อไปนี้
ในสมยั รชั กําลที่ ๕ นนั้ สมเดจ็ ฯ เจํา้ ฟํา้ กรมพระยํานรศิ รํานวุ ดั ตวิ งศไ์ ดท้ รงมโี อกําสออกแบบ พระเมรุ ๑ องค์ คอื “พระเมรพุ ระเจํา้ ลกู เธอ พระองคเ์ จํา้ ศรวี ลิ ยั ลกั ษณ์ กรมขนุ สพุ รรณภําควด”ี ในปี พ.ศ.๒๔๔๗ ซงึ่ แมว้ ํา่ จะไมม่ หี ลกั ฐํานบง่ ชี้ ทวํา่ จํากทว่ งทใี นกํารกํารออกแบบแลว้ นนั้ รองศําสตรําจํารย์ สมคิด จิระทัศนกุล สันนิษฐํานว่ํา พระเมรุดังกล่ําวต้องเป็นผลงํานของสมเด็จฯ เจ้ําฟ้ํากรมพระยํา นริศรํานุวัดติวงศ์อย่ํางแน่นอน (สมคิด จิระทัศนกุล ๒๕๕๖: ๗๘๘-๗๘๙)
ตอ่ มําในรชั สมยั พระบําทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลํา้ เจํา้ อยหู่ วั รชั กําลที่ ๖ นนั้ รองศําสตรําจํารย์ สมคดิ จริ ะทศั นกลุ เสนอวํา่ สมเดจ็ ฯ เจํา้ ฟํา้ กรมพระยํานรศิ รํานวุ ดั ตวิ งศ์ ไดท้ รงออกแบบพระเมรมุ ําศ และพระเมรุด้วยกัน ๓ องค์ คือ พระเมรุมําศสมเด็จพระศรีพัชรินทรําบรมรําชินีนําถ พ.ศ.๒๔๖๓ พระเมรสุ มเดจ็ พระอนชุ ําธริ ําช เจํา้ ฟํา้ กรมหลวงพษิ ณโุ ลกประชํานําถ พ.ศ.๒๔๖๓ และ พระเมรสุ มเดจ็ พระมหําสมณเจ้ํา กรมพระยําวชิรญําณวโรรส พ.ศ.๒๔๖๔
ต่อมําในรัชสมัยพระบําทสมเด็จพระปกเกล้ําเจ้ําอยู่หัว รัชกําลที่ ๗ น้ัน สมเด็จเจ้ําฟ้ํา กรมพระยํานรศิ รํานวุ ดั ตวิ งศไ์ ดท้ รงออกแบบพระเมรมุ ําศ และพระเมรดุ ว้ ยกนั ๔ องค์ คอื พระเมรมุ ําศ พระบําทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ําเจ้ําอยู่หัว พ.ศ.๒๔๖๘ พระเมรุสมเด็จพระปิตุจฉําเจ้ําสุขุมําลมํารศรี พระอคั รรําชเทวี พ.ศ.๒๔๗๑ พระเมรสุ มเดจ็ พระรําชปติ ลุ ําบรมพงศําภมิ ขุ เจํา้ ฟํา้ ภําณรุ งั สสี วํา่ งวงศ์ กรมพระยําภําณพุ นั ธว์ งศว์ รเดช พ.ศ. ๒๔๗๒ และพระเมรสุ มเดจ็ พระมหติ ลําธเิ บศร อดลุ ยเดชวกิ รม พระบรมรําชชนก (สมเด็จพระเจ้ําพี่ยําเธอ เจ้ําฟ้ํากรมหลวงสงขลํานครินทร์) พ.ศ.๒๔๗๒
ต่อมําในรัชสมัยพระบําทสมเด็จพระปรเมนทรมหําอํานันทมหิดล พระอัฐมรํามําธิบดินทร รัชกําลท่ี ๘ นั้น สมเด็จฯ เจ้ําฟ้ํากรมพระยํานริศรํานุวัดติวงศ์ได้ทรงออกแบบพระเมรุ ๑ องค์ คือ พระเมรุสมเด็จพระเจ้ําบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฏ์ พ.ศ.๒๔๗๘
5๑
ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ 3๑3
เสด็จสู่แดนสรวง


































































































   313   314   315   316   317