Page 316 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 316

ในช่วงระหว่ํางต้นรัชกําลท่ี ๖ เป็นต้นมํา จะเห็นได้ว่ํา กํารเปล่ียนแปลงบริบทแวดล้อมทําง สงั คม วฒั นธรรม เศรษฐกจิ และกํารเมอื งไดม้ พี ลวตั อิ ยํา่ งสงู ยงิ่ ทงั้ ทเี่ ปน็ ปจั จยั จํากภํายนอกประเทศ และเป็นปัจจัยภํายในประเทศ นับตั้งแต่สงครํามโลกครั้งที่ ๑ ภําวะข้ําวยํากหมํากแพง ตลอดจน กํารเปลี่ยนแปลงระบอบกํารปกครองจํากระบบสมบูรณําญําสิทธิรําชย์มําเป็นระบอบประชําธิปไตย ซึ่งผลต่อกํารออกแบบและกํารจัดงํานพระเมรุตลอดจนกํารปรับตัวเข้ําสู่สมดุลใหม่ขององคําพยพ ต่ํางๆ ของสังคม
สํา หรบั พระเมรมุ ําศ และพระเมรทุ อี่ อกแบบโดยสมเดจ็ ฯ เจํา้ ฟํา้ กรมพระยํานรศิ รํานวุ ดั ตวิ งศ์ น้ัน รองศําสตรําจํารย์ สมคิด จิระทัศนกุล ได้ศึกษําและจําแนกรูปแบบทํางสถําปัตยกรรมออกเป็น ๒ ประเภท ตํามรูปแบบของเรือนยอด คือ “เรือนยอดทรงบุษบก” และ “เรือนยอดทรงปรําสําทแบบ ต่ํางๆ” (สมคิด จิระทัศนกุล ๒๕๕๖: ๗๘๔) โดยเรือนยอดทรงบุษบกนั้นกําหนดให้เป็นเรือนยอด ที่สัมพันธ์กับฐํานํานุศักดิ์ที่สูงสุดอันใช้ในพระเมรุมําศในรัชกําลท่ี ๖ ซ่ึงเป็นเรือนยอดท่ีมีแบบแผน เคร่งครัดตํามฉันทําลักษณ์แบบจํารีตที่รับถ่ํายทอดมําจํากพระเมรุในรัชกําลที่ ๕ ทว่ําเรือนยอดทรง ปรําสําทนนั้ ไดเ้ ปดิ โอกําสใหพ้ ระองคไ์ ดใ้ ชเ้ ชงิ ชนั้ ในกํารออกแบบไดอ้ ยํา่ งกวํา้ งขวํางซง่ึ สอดคลอ้ งกบั คตินิยมของพระองค์ด้วย ดังจะเห็นได้ว่ํามูลเหตุในกํารก่อรูปของพระเมรุมําศ และพระเมรุในช่วงนี้ ได้กลับตําลปัตรกับธรรมเนียมในกํารออกแบบพระเมรุแบบด้ังเดิมที่รับแบบแผนมําจํากอยุธยําไป โดยส้ินเชิง
ทง้ั นย้ี งั จะเหน็ ไดว้ ํา่ นอกจํากพระเมรมุ ําศ และพระเมรจุ ะลดขนําดของอําคํารลงมําจํากเดมิ มํากแล้ว ยังจะเห็นได้ว่ําในกํารสร้ํางพระเมรุมําศ และพระเมรุในแต่ละครําวจะใช้ในกํารพระรําชพิธี พระรําชทํานเพลิงพระศพของพระบรมวงศํานุวงศ์หลํายพระองค์ท่ีมีกํารสิ้นพระชนม์ในช่วงเวลํา เดียวกันนั้น ดังตัวอย่ํางของพระเมรุสมเด็จพระเจ้ําพ่ีนํางเธอ เจ้ําฟ้ําสุทธําทิพยรัตน กรมหลวง ศรีรัตนโกสินทร์ มีพระบรมวงศํานุวงศ์สิ้นพระชนม์หลํายพระองค์ รัชกําลที่ ๖ จึงโปรดเกล้ําฯ ให้ใช้ พระเมรสุ มเดจ็ พระเจํา้ พนี่ ํางเธอ เจํา้ ฟํา้ สทุ ธําทพิ ยรตั น์ กรมหลวงศรรี ตั นโกสนิ ทร ในกํารพระรําชทําน เพลงิ พระบรมวงศํานวุ งศช์ น้ั สงู อําทิ สมเดจ็ พระเจํา้ นอ้ งยําเธอ เจํา้ ฟํา้ จฑุ ําธชุ ธรําดลิ ก กรมขนุ เพช็ รบรู ณ์ อนิ ทรําชยั , สมเดจ็ พระเจํา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยําเทวะวงศว์ โรปกําร, พระเจํา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมหลวง สรรพสิทธิประสงค์, พระเจ้ําบรมวงศ์เธอ กรมขุนมรุพงษ์ศิริพัฒน์, พระเจ้ําพี่ยําเธอ กรมหลวงชุมพร เขตอุดมศักดิ์, และเจ้ําพระยําเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ ซึ่งก็ได้มีกํารปรับเปลี่ยนองค์ประกอบตกแต่งทําง สถําปัตยกรรมเพ่ือให้สอดคล้องกับฐํานํานุศักดิ์ของพระบรมวงศํานุวงศ์ชั้นต่ํางๆ
พลวตั ทํางสงั คม วฒั นธรรม และเศรษฐกจิ ยงั แสดงออกผํา่ นงํานพระเมรมุ อี กี หลํายประกําร อําทิเช่น กํารท่ีรัชกําลที่ ๖ ได้ทรงพระกรุณําโปรดเกล้ําฯ ให้ปรับแก้รูปแบบทํางสถําปัตยกรรม เพื่อ ใหก้ ํารกอ่ สรํา้ งพระเมรกุ ระชบั เวลําและกอ่ สรํา้ งแลว้ เสรจ็ ทนั หมํายกํา หนดกํารและดเู ปน็ พระเมรอุ งคใ์ หม่ ที่มีฐํานํานุศักดิ์สอดคล้องกับพระบรมวงศํานุวงศ์ผู้วํายชนม์ เช่น พระเมรุสมเด็จพระมหิตลําธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมรําชชนก (สมเด็จพระเจ้ําพ่ียําเธอ เจ้ําฟ้ํากรมหลวงสงขลํานครินทร์) ซึ่ง ปรบั แกร้ ปู แบบจํากพระเมรสุ มเดจ็ พระรําชปติ ลุ ําบรมพงศําภมิ ขุ เจํา้ ฟํา้ ภําณรุ งั สสี วํา่ งวงศ์ กรมพระยํา ภําณุพันธ์วงศ์วรเดช
เสด็จสู่แดนสรวง
3๑4 ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ


































































































   314   315   316   317   318