Page 318 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 318

จํากกํารศึกษําพบว่ํา พระเมรุองค์แรกที่ดําเนินกํารโดยกรมศิลปํากร คือ พระเมรุสมเด็จ พระรําชปติ จุ ฉํา เจํา้ ฟํา้ วไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพช็ รบ์ รุ รี ําชสริ นิ ธร พ.ศ.๒๔๘๔ ซงึ่ แบบรํา่ งแรกนนั้ มรี ปู แบบทพี่ ฒั นําตอ่ จํากรปู แบบพระเมรสุ มเดจ็ เจํา้ ฟํา้ ฯ กรมหลวงสงขลํานครนิ ทร์ ทวํา่ กรมศลิ ปํากร ได้เปลี่ยนแบบเนื่องจํากงบประมําณในกํารก่อสร้ําง
พระเมรุมําศองค์ต่อมํา คือ พระเมรุพระบําทสมเด็จพระปรเมนทรมหําอํานันทมหิดล พ.ศ. ๒๔๙๓ ซ่ึงพระองค์ได้เสด็จสวรรคตในปี พ.ศ.๒๔๘๙ เดิมทีมีกําหนดกํารจัดกํารพระรําชพิธีในเดือน มีนําคม พ.ศ.๒๔๙๐ แต่ด้วยบ้ํานเมืองประสบภําวะขําดแคลนจึงได้เล่ือนออกไปปี พ.ศ.๒๔๙๑ เพื่อให้มีเวลําเตรียมกํารได้เหมําะสม ทว่ําพระรําชพิธีถวํายพระเพลิงพระบรมศพก็ยังมิได้เกิดข้ึน จนกระทั่งรัฐบําลได้มีกําหนดใหม่ว่ําจะจัดในเดือนกุมภําพันธ์ พ.ศ.๒๔๙๒ แต่แล้วพระบําทสมเด็จ พระปรมนิ ทรมหําภูมิพลอดุลยเดชได้ประสบอุบัติเหตุทํางรถยนต์ที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ จึงได้ เลื่อนกําหนดจัดกํารพระรําชพิธีถวํายพระเพลิงพระบรมศพรัชกําลที่ ๘ ไปเป็นวันท่ี ๒๘ มีนําคม พ.ศ.๒๔๙๓ ซึ่งพระเมรุมําศมีลักษณะทํางสถําปัตยกรรมเป็นอําคํารทรงมณฑปไม่ชักมุข เรือนยอด บุษบกมีชั้นเชิงกลอน ๕ ช้ัน และมียอดพรหมพักตร์ ต่อมําได้มีกํารจัดสร้ํางพระเมรุมําศสมเด็จ พระศรสี วรนิ ทริ ําบรมรําชเทวี พระพนั วสั สําอยั ยกิ ําเจํา้ พ.ศ.๒๔๙๙ ซง่ึ กํา หนดใหม้ รี ปู แบบเชน่ เดยี วกนั ก ั บ พ ร ะ เ ม ร ุ ร ชั ก ํา ล ท ่ ี ๘ เ น อ่ ื ง จ ํา ก ม เี ว ล ํา ใ น ก ํา ร เ ต ร ยี ม ก ํา ร ใ น ก ํา ร อ อ ก แ บ บ ก อ่ ส ร ํา้ ง ใ น เ ว ล ํา ท จ่ ี ํา ก ดั จ ะ เ ห น็ ไดว้ ํา่ กํารออกแบบก่อสร้ํางพระเมรุมําศในช่วงรอยต่อของกํารเปล่ียนแปลงระบอบกํารปกครองนั้น มีข้อจํากัดหลํายประกํารทั้งในประเด็นเร่ืองสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และกํารเมือง ซึ่งทําให้ ขําดแคลนสถําปนิกและช่ํางฝีมือจนไม่อําจจะทํากํารก่อสร้ํางสถําปัตยกรรมเฉพําะกิจขนําดใหญ่ที่มี ระยะเวลําในกํารก่อสร้ํางจํากัดได้
ในปี พ.ศ.๒๕๒๘ พระเมรุมําศสมเด็จพระนํางเจ้ํารําไพพรรณี พระบรมรําชินีในรัชกําลท่ี ๗ เป็นพระเมรุมําศท่ีออกแบบโดยอําจํารย์ประเวศ ลิมปรังษี ซ่ึงนับว่ําเป็นพระเมรุมําศองค์แรก ที่ออกแบบโดยสถําปนิกท่ีศึกษําเล่ําเรียนด้ํานกํารออกแบบสถําปัตยกรรมศําสตร์จํากสถําบัน อุดมศึกษําภํายในประเทศ รวมทั้งยังประกอบไปด้วยคณะทํางํานที่เป็นสถําปนิกที่จบกํารศึกษํา ด้ํานสถําปัตยกรรมจํากคณะสถําปัตยกรรมศําสตร์ มหําวิทยําลัยศิลปํากร และจุฬําลงกรณ์ มหําวิทยําลัย อําทิ ม.ร.ว.มิตรํารุณ เกษมศรี พลเรือตรีสมภพ ภิรมย์ รองศําสตรําจํารย์ภิญโญ สุวรรณคีรี ศําสตรําจํารย์กฤษฎํา อรุณวงศ์ ณ อยุธยํา สําหรับลักษณะทํางสถําปัตยกรรมมีลักษณะ เป็นพระเมรุมําศทรงปรําสําทจัตุรมุขมุขด้ํานเหนือ และใต้ชักยําวออกมํากว่ําด้วนอ่ืน เรือนยอด ทรงมณฑปมีชั้นเชิงกลอน ๕ ชั้น บนยอดมีพรหมพักตร์
ตอ่ มําปีพ.ศ.๒๕๓๙คอื พระเมรมุ ําศสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทรําบรมรําชชนนีในปีพ.ศ.๒๕๕๑ คือ พระเมรุสมเด็จพระเจ้ําพ่ีนํางเธอ เจ้ําฟ้ํากัลยําณิวัฒนํา กรมหลวงนรําธิวําสรําชนครินทร์ และ ในปี พ.ศ.๒๕๕๕ พระเมรุมําศสมเด็จพระเจ้ําภคินีเธอ เจ้ําฟ้ําเพชรรัตนรําชสุดํา สิริโสภําพัณณวดี ซ่ึงพระเมรุมําศทั้ง ๓ องค์น้ีออกแบบโดยนําวําอํากําศเอก อําวุธ เงินชูกลิ่น และคณะทํางํานจําก กรมศลิ ปํากร ดงั จะเหน็ ไดว้ ํา่ นบั จํากกํารสมโภชกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ๒๐๐ ปี ในปี พ.ศ.๒๕๒๕ บํา้ นเมอื ง มีเสถียรภําพที่มั่นคง เศรษฐกิจเติบโตมํากข้ึน ปัจจัยกํารเมืองจํากภํายนอกค่อยๆ ผ่อนลด ควํามตงึ เครยี ดลง กํารบรหิ ํารกจิ กํารบํา้ นเมอื งเปน็ ไปดว้ ยดี อนั ทํา ใหว้ ําระกํารฉลองกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ๒๐๐ ปี น้ันเป็นโอกําสอย่ํางสําคัญในกํารสร้ํางผู้เชี่ยวชําญ ตลอดจนช่ํางฝีมือที่เกี่ยวเนื่องกับศิลปะ สถําปัตยกรรมไทยขึ้นเป็นจํานวนมําก
เสด็จสู่แดนสรวง
3๑๖ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ


































































































   316   317   318   319   320