Page 328 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 328
หลังคําบุษบกประดับชั้นเชิงกลอน ๕ ชั้น ประดับบันแถลง ช่อฟ้ํา บรําลี นําคปัก เชิงกลอน ชั้นล่ํางสุดห้อยเฟื่องระย้ําเงินโดยรอบ ถัดชั้นเชิงกลอนข้ึนไปเป็นส่วนขององค์ระฆัง เหม ๓ ช้ัน จําหลักย่อมุมไม้สิบสอง บัวกลุ่ม ๕ ชั้น ปลีและปลียอดปิดทองทึบ ลูกแก้วจําหลักลําย ยอดประกอบ ด้วยเม็ดน้ําค้ํางและพุ่มข้ําวบิณฑ์ เพดํานหลังคําบุษบกประดับลํายดําวจงกลและดอกจอก
เวชยันตราชรถ
ประเด็นเรื่อง “รถที่นั่งรอง” ตํามที่ปรํากฏในเร่ืองจดหมํายควํามทรงจําของกรมหลวง นรนิ ทรเทวี ซงึ่ ปจั จบุ นั นกั วชิ ํากํารสว่ นใหญเ่ ขํา้ ใจวํา่ หมํายถงึ “เวชยนั ตรําชรถ” นนั้ นยิ ม กลน่ิ บบุ ผํา นักวิชํากํารช่ํางศิลป์ทรงคุณวุฒิ ผู้เช่ียวชําญเฉพําะด้ํานช่ํางศิลปกรรม (ช่ํางศิลป์ไทย) กรมศิลปํากร ได้อธิบํายเรื่อง “รําชรถรอง” ไว้ว่ํา
“คล้ายกับเรือพระที่น่ังก่ิงในสมัยปลายกรุงศรีอยุธยาที่มีทั้งเรือพระท่ีนั่ง กงิ่ เอกและเรอื พระทนี่ ง่ั กงิ่ รองแตม่ ขี นาดไมแ่ ตกตา่ งกนั มากนกั ...คราวใดจา เปน็ ตอ้ งใช้ เวชยนั ตราชรถอญั เชญิ พระบรมศพ กจ็ ะเรยี กขานราชรถองคน์ ว้ี า่ พระมหาพชิ ยั ราชรถ เช่นเดียวกัน ทานองเดียวกับเรือพระท่ีนั่งก่ิงรอง หากพระมหากษัตริย์เสด็จ พระราชดาเนินไปประทับเป็นเรือประธานในริ้วขบวน ก็จะเรียกเรือพระที่น่ังลานั้นว่า พระมหาพิชัยนาวา” (นิยม กลิ่นบุบผํา ๒๕๕๗: ๒๖)
และจํากคาให้การขุนหลวงหาวัด มีกํารกล่ําวถึงริ้วกระบวนพระรําชอิสริยยศกํารอัญเชิญ พระบรมศพในปลํายกรุงศรีอยุธยําว่ํารําชรถรองมีหน้ําที่เชิญพระโกศจันทน์ ดังนี้ “...หลังพระมหา พิไชยราชรถนั้นมีเจ้าพนักงานเชิญเครื่องราโชปโภคสาหรับพระบรมราชอิสริยยศพระเจ้าแผ่นดิน ถดั มาถงึ รถพระโกศจนั ทนเ์ ปนพระทนี่ งั่ รอง ถดั มาถงึ รถพานทองรบั ทอ่ นจนั ทน.์ ..” (มหําวทิ ยําลยั สุโขทัยธรรมําธิรําช ๒๕๔๙: ๒๒๖)
ในสมยั กรงุ รตั นโกสนิ ทรก์ ป็ รํากฏหลกั ฐํานเชน่ กนั วํา่ รําชรถรองใชส้ ํา หรบั เชญิ พระโกศจนั ทน์ โดยในบนั ทกึ ของหมอ่ มเจํา้ จงจติ รถนอม ดศิ กลุ ทรงบนั ทกึ ควํามทรงจํา ถงึ กระบวนแหพ่ ระบรมศพ สมเด็จพระบรมโอรสําธิรําช เจ้ําฟ้ํามหําวชิรุณหิศ สยํามมกุฎรําชกุมําร เม่ือ พ.ศ.๒๔๔๓ ควํามตอน หนงึ่ วํา่ “คนั ที่ ๔ พระมหาพชิ ยั ราชรถ ทรงพระบรมศพ คนั ที่ ๕ เวชยนั ตร์ าชรถ รบั พระโกศจนั ทน์ ตามมาข้างหลัง มีรถเล็กอีก ๒ คัน เป็นรถรับไม้หอม...” (จงจิตรถนอม ดิศกุล ๒๕๕๐: ๘๒)
ดังน้ัน “รถพระโกศจันทน์เปนพระที่นั่งรอง” นี้ก็คือเวชยันตรําชรถน่ันเอง ถือเป็นคติท่ี สืบทอดมําแต่คร้ังสมัยอยุธยํา
สํา หรบั รํายละเอยี ดของเวชยนั ตรําชรถมดี งั น้ี นํามของรําชรถนหี้ มํายถงึ รถของพระอนิ ทร์ โดยมลี กั ษณะเปน็ รําชรถทรงบษุ บกขนําดใหญ่ ทํา ดว้ ยไมจ้ ํา หลกั ลํายทําสแี ดงปดิ ทองประดบั กระจก มีขนําดกว้ําง ๔.๙๐ เมตร ยําว ๑๗.๕๐ เมตร สูง ๑๑.๗๐ เมตร หนัก ๑๒.๒๕ ตัน ใช้จํานวนพลฉุด ชักลํากจํานวน ๒๐๖ คน
เสด็จสู่แดนสรวง
3๒๖ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ