Page 330 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 330
บุษบกสําหรับประดิษฐํานพระโกศพระบรมศพหรือพระศพนั้น ฐํานบุษบกประกอบหน้ํา กระดํานท้องไม้ปิดทองประดับกระจก ปํากฐํานรอบพนักประดับไม้แกะสลักลํายกระจังปฏิญําณ ฐํานพนกั ดํา้ นซํา้ ยถอดประกอบได้ ใตอ้ งคบ์ ษุ บกมกี วํา้ นไขพนื้ บษุ บกสง่ พระโกศขณะเขํา้ ประดษิ ฐําน อยใู่ นบษุ บกใหส้ งู ขนึ้ พน้ พนกั เมอื่ เลอ่ื นพระโกศลงเกรนิ จะหมนุ กวํา้ นลงเพอื่ ใหฐ้ ํานพระโกศเสมอพนื้ บุษบกเช่นเดิม
เสําบุษบกย่อมุมไม้สิบสอง โคนเสําบุษบกประดับกําบพรหมศร หัวเสํามีคันทวยสลักรูป นําคครับเชิงกลอนหลังคําชั้นล่ําง เสําบุษบกแต่ละต้นผูกม่ํานพื้นเหลืองลํายทองแผ่ลวด (เดิมเป็น ตําดทองซับในสีแดง) รวบกลํางม่ํานที่ประจํายํามรัดอกของเสํา
หลังคําบุษบกประดับชั้นเชิงกลอน ๕ ชั้น ประดับบันแถลง ช่อฟ้ํา บรําลี นําคปัก เชิงกลอน ช้ันล่ํางสุดห้อยเฟื่องระย้ําเงินโดยรอบ ถัดชั้นเชิงกลอนข้ึนไปเป็นส่วนขององค์ระฆัง เหม ๓ ช้ัน จําหลักย่อมุมไม้สิบสอง บัวกลุ่ม ๕ ชั้น ปลีและปลียอดปิดทองทึบ ลูกแก้วจําหลักลําย ยอดประกอบ ด้วยเม็ดน้ําค้ํางและพุ่มข้ําวบิณฑ์ เพดํานหลังคําบุษบกประดับลํายดําวจงกลและดอกจอก
นามพระมหาพิชัยราชรถและเวชยันตราชรถ
จํากหลกั ฐํานพระรําชพงศําวดําร ระบวุ ํา่ งํานถวํายพระเพลงิ พระบรมศพ สมเดจ็ พระนเรศวร มหํารําช ออกนํามรําชรถท่ีใช้อัญเชิญพระบรมศพว่ํา “มหํากฤษฎําธําร” (กรมศิลปํากร ๒๕๐๕: ๓๑๒-๓๑๓) หมํายถงึ “รําชรถทที่ ํา ขน้ึ สํา หรบั พระเกยี รตยิ ศอนั ยงิ่ ใหญ”่ (ยม้ิ ปณั ฑยํางกรู และคณะ ๒๕๒๘: ๔๑๗) และในรัชกําลสมเด็จพระเจ้ําอยู่หัวบรมโกศ เรียกชื่อว่ํา “พระมหําพิชัยรําชรถ กฤษฎําธําร” (กรมศิลปํากร ๒๕๐๙: ๑๑) แต่ทั้งน้ีแล้วส่วนใหญ่ ออกนํามว่ํา “พระมหําพิชัยรําชรถ” (ยิ้ม ปัณฑยํางกูร และคณะ ๒๕๒๘: ๖๒-๘๒)
หม่อมรําชวงศ์แสงสูรย์ ลดําวัลย์ ได้ต้ังข้อสังเกตเรื่องคําว่ํา “พระมหําพิไชย” ซ่ึงใช้ใน สมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยําวํา่ มคี วํามหมํายถงึ “รําชรถอนั ประเสรฐิ ยงิ่ ” และในสมยั กรงุ รตั นโกสนิ ทรใ์ ชค้ ํา วํา่ “พระมหําพิชัย” ซ่ึงหมํายถึงว่ํา “มหํารําชรถแห่งผู้ชนะ” โดยสันนิษฐํานว่ํา “คงเป็นด้วยคติเดิม ถือกันว่า พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ป้องกันภัย ทรงเป็นชาตินักรบ...ในโอกาสสุดท้ายของการส่ง เสด็จสู่สวรรคาลัย จึงถวายราชรถท่ีใหญ่และงดงามวิจิตรให้ทรงและให้นามว่า “มหาพิชัยราชรถ” คือราชรถทรงแห่งพระผู้ชนะ” (ยิ้ม ปัณฑยํางกูร และคณะ ๒๕๒๘: ๔๑๗)
อนึ่ง ในพระไตรปิฎกมีกํารเปรียบเทียบอริยมรรคกับยํานพําหนะ โดยพรําหมณสูตร พระสตุ ตนั ตปฎิ ก สงั ยตุ ตนกิ ําย มหําวํารวรรค พระอํานนทท์ ลู ถํามพระพทุ ธเจํา้ เรอื่ งยํานอนั ประเสรฐิ ในธรรมวินัย พระผู้มีพระภําคเจ้ําตรัสว่ําอําจบัญญัติได้ คือ “ยานอันประเสริฐ เป็นช่ือของอริยมรรค ประกอบด้วยองค์ ๘ น้ีเอง เรียกกันว่า พรหมยานบ้าง ธรรมยานบ้าง รถพิชัยสงครามอันยอดเยี่ยม บา้ ง” (มหํามกฏุ รําชวทิ ยําลยั ๒๕๒๕ข: ๑๓) และเหตทุ วี่ ํา่ อรยิ มรรคเปน็ รถพชิ ยั สงครํามอนั ยอดเยยี่ ม พระอรรถกถําจํารยไ์ ดข้ ยํายควํามวํา่ “เพราะไมม่ สี งิ่ อนั ยงิ่ กวา่ และเพราะชนะสงครามคอื กเิ ลสแลว้ ” (มหํามกุฏรําชวิทยําลัย ๒๕๒๕ข: ๑๗) แต่ท้ังน้ีในภําษําบําลีเรียก “รถพิชัยสงครํามอันยอดเย่ียม” ว่ํา “อนุตฺตโร สงฺคํามวิชโย” (มหํามกุฏรําชวิทยําลัย ๒๔๗๐: ๖)
เสด็จสู่แดนสรวง
3๒๘ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ