Page 343 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 343

งานพระศพกษัตริย์ล้านช้าง ในสมัยรัฐจารีต๑
อาจารย์ ธีระวัฒน์ แสนคํา
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
ทวี่ ดั เชยี งทอง เมอื งหลวงพระบํางยงั คงจดั แสดงพระโกศของเจํา้ ชวี ติ สสี ะหวํา่ งวง (พระเจํา้ ศรสี วํา่ งวงศ)์ พระเชษฐํา และพระรําชมํารดํา โดยประดษิ ฐํานใน “โรงเมยี้ นโกศ” หรอื โรงเกบ็ รําชรถ ซึ่งสะท้อนว่ํา อําณําจักรล้ํานช้ํางหรือ “ลําว” มีสํายสัมพันธ์ทํางด้ํานควํามเชื่อกับกรุงรัตนโกสินทร์ และบ้ํานเมืองต่ํางๆ ในอุษําคเนย์ ดังนั้น จึงเป็นส่ิงที่น่ําสนใจต่อกํารทัศนคติควํามเชื่อดังกล่ําวผ่ําน เอกสํารทํางประวัติศําสตร์
อันดับแรก ต้องกล่ําวด้วยว่ําบทควํามน้ีจะเน้นกํารนําเสนอข้อมูลและเร่ืองรําวท่ีเกี่ยวข้อง กับงํานพระศพของกษัตริย์ล้ํานช้ํางนับตั้งแต่ยุคสมัยตํานํานจนถึงสมัยก่อนถูกผนวกเป็นส่วนหนึ่ง ของรําชอําณําจักรสยํามในปี พ.ศ.๒๓๗๑ ท้ังนี้เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงลักษณะ พัฒนํากํารหรือ ควํามเปลี่ยนแปลงของงํานพระศพของกษัตริย์ล้ํานช้ํางทั้งจํากหลักฐํานประวัติศําสตร์ โบรําณคดี และศิลปกรรม อย่ํางไรก็ดี กํารศึกษําครั้งน้ีเป็นกํารนําเสนอแบบสังเขปภําพรวมเท่ําน้ัน เพื่อให้เกิด ควํามกระชับ และเป็นข้อมูลพื้นฐํานเปิดทํางไปสู่กํารค้นคว้ําต่อยอดต่อไปของผู้อ่ํานที่สนใจ
สังเขปประวัติศาสตร์ล้านช้าง
กอ่ นหนํา้ กํารสถําปนําอําณําจกั รลํา้ นชํา้ งขนึ้ ในปี พ.ศ.๑๘๙๖ ขอ้ ควํามในนทิ ํานเรอื่ งขนุ บรม ราชา พงศาวดารลานช้าง ได้สะท้อนให้เห็นว่ําในบริเวณที่รําบลุ่มน้ําโขงและหุบเขําลุ่มน้ําสําขําได้มี บ้ํานเล็กเมืองน้อยเกิดขึ้นอยู่จํานวนมําก และแต่ละเมืองต่ํางก็มีกษัตริย์ที่มีควํามสัมพันธ์กันทําง เครอื ญําตกิ ัน (พงศาวดารเมืองลานช้าง ๒๕๔๕: ๑๓๙-๑๕๓) เช่นเดียวกับวรรณกรรมเรื่องท้าวฮุ่ง ทา้วเจอืงซงึ่กลํา่วถงึทํา้วฮงุ่ ทํา้วเจอืงวํา่เปน็กษตัรยิผ์เู้ปน็ใหญใ่นลมุ่นํา้โขง(ดวงเดอืนบนุยําวง ๒๕๔๙) กอ่ นทจ่ี ะคอ่ ยๆ เกดิ กํารทํา สงครํามแยง่ ชงิ ควํามเปน็ ใหญข่ องกษตั รยิ เ์ มอื งตํา่ งๆ เพอ่ื รวบรวม บํา้ นเลก็ เมืองน้อยไว้ใต้กํารปกครองจนเกิดเป็นรําชอําณําจักรข้ึนในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๙
๑ บทควํามน้ีเลือกใช้ “พระศพ” แทนที่จะเป็น “พระบรมศพ” เน่ืองจํากใช้ตํามเอกสํารชั้นต้น เช่น พงศาวดารเมือง หลวงพระบาง และอื่นๆ
๗๑
ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ 34๑
เสด็จสู่แดนสรวง


































































































   341   342   343   344   345