Page 345 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 345

ในปี พ.ศ.๑๘๙๖ ขุนยักษ์ฟ้ําหรือขุนผีฟ้ํา พระรําชบิดําของพระเจ้ําฟ้ํางุ้มผู้ซึ่งถือเป็นต้นวงศ์ ๑ ของอําณําจักรล้ํานช้ํางได้สิ้นพระชนม์ลง ซึ่งในพงศําวดํารได้บันทึกไว้ว่ํา “...ขุนยักษ์ฟ้าเจ็บวัณโรค ๗ ปว่ ยลงกถ็ งึ แกก่ รรมไป พระเจา้ กรงุ ศรสี ตั นาคนหตุ ฟา้ งมุ้ ทรงทราบวา่ ขนุ ยกั ษฟ์ า้ ผเู้ ปน็ พระราชบดิ า
สิ้นพระชนม์ จึงทรงสั่งเสนาบดีจัดการเมรุมาศให้สมควรแก่อิสริยยศ แล้วก็ปลงศพพระราชบิดา...” (พงศาวดารเมืองหลวงพระบาง ๒๕๐๗: ๑๖๒-๑๖๓) จะเห็นได้ว่ํานับแต่สมัยพระเจ้ําฟ้ํางุ้มเป็น อย่ํางช้ําได้เกิดคติในกํารจัดกํารเมรุมําศให้กับกษัตริย์ล้ํานช้ํางแล้ว ซ่ึงเป็นไปได้ว่ําได้รับคติมําจําก อําณําจักรกัมพูชํา เพรําะพระองค์ทรงมีพระมเหสีเป็นพระรําชธิดําของกษัตริย์กรุงอินทปัตถ์คือ เมืองพระนครแห่งกัมพูชํา
คติควํามเช่ือเรื่องกํารทําพระเมรุมําศนี้ปรํากฏในนครรัฐของล้ํานช้ํางแห่งอื่นด้วย ดังเห็น ได้จํากในปี พ.ศ.๒๒๘๐ เมื่อเจ้ําสร้อยศรีสมุทรพุทธํางกูร (เจ้ําหน่อกษัตริย์) ปฐมกษัตริย์แห่ง รําชสํา นกั ลํา้ นชํา้ งเมอื งจํา ปําศกั ดสิ์ นิ้ พระชนม์ พระเจํา้ องคห์ ลวง (เจํา้ ไชยกมุ ําร) พระรําชโอรสจงึ ได้ ขนึ้ ครองรําชยส์ บื ตอ่ จํากพระรําชบดิ ํา และทํา กํารถวํายพระเพลงิ พระศพเจํา้ สรอ้ ยศรสี มทุ รพทุ ธํางกรู ดงั ปรํากฏในตา นานเมอื งนครจา ปาศกั ดคิ์ วํามวํา่ “...พระเจา้ องคห์ ลวงจงึ สง่ั ใหท้ า้ วพระยาเกณฑไ์ พร่ ทาเมรุขึ้นท่ีข้างวัง ครั้นการทาเมรุเสร็จแล้วจึงได้ชักศพเจ้าสร้อยศรีสมุทพุทธางกูรเข้าสู่เมรุทาบุญ ให้ทาน พระเจ้าองค์หลวงและเจ้านายท้าวพระยาก็เผาศพเจ้าสร้อยศรีสมุทพุทธางกูร...” (ตานาน เมืองนครจาปาศักดิ์ ๒๕๑๒: ๑๘๗-๑๘๘) จะเห็นได้ว่ําคติกํารทําพระเมรุของลําวนครจําปําศักด์ิ คือ กํารสร้ํางเมรุขึ้นใกล้กับวัง คล้ํายคลึงกันกับในกรุงรัตนโกสินทร์ โดยไพร่ถือเป็นกลุ่มคนท่ีมีบทบําท สําคัญต่อกํารสร้ํางพระเมรุ
มขี อ้ มลู ทนี่ ํา่ สนใจคอื ในปี พ.ศ.๒๐๒๓ พระสวุ รรณบลั ลงั กห์ รอื ทํา้ วแทน่ คํา (หรอื ทํา้ วแทง่ คํา ) ได้ทํากํารปลงพระศพพระเจ้ําไชยจักรพรรดิแผ่นแผ้ว พระรําชบิดําของพระองค์ที่เมืองเชียงคําน ดังปรํากฏข้อมูลในพงศาวดารเมืองหลวงพระบางว่ํา “...ท้าวแท่งคาท่ีเป็นพระราชโอรส และเสนา พฤฒามาตยร์ าษฎรกรงุ ศรสี ตั นาคนหตุ และเมอื งเชยี งคานกพ็ รอ้ มกนั ปลงพระศพตามสมควรอนั เปน็ พระเจ้าแผ่นดินเอกเทศ...” (พงศาวดารเมืองหลวงพระบาง ๒๕๐๗: ๑๗๓-๑๗๔) กํารระบุถึง กํารปลงพระศพในฐํานะของกํารเปน็ “พระเจํา้ แผน่ ดนิ เอกเทศ” นยี้ อ่ มแสดงใหเ้ หน็ วํา่ กํารสรํา้ งพระ เมรุมําศเป็นส่วนหน่ึงของระบบกํารเมืองด้ังเดิมในอุษําคเนย์ เพรําะกํารจะสร้ํางพระเมรุมําศขึ้นได้ นั้นย่อมต้องเป็นกษัตริย์ที่ไม่เป็นเมืองข้ึนของผู้ใด
จํากข้อมูลเบื้องต้นแสดงให้เห็นว่ํา นับแต่สมัยตั้งรําชอําณําจักรล้ํานช้ําง คติควํามเช่ือเรื่อง กํารทํา พระเมรมุ ําศเพอื่ จํา ลองเขําพระเมรตุ ํามคตคิ วํามเชอื่ ไตรภมู ไิ ดส้ ถําปนํามนั่ คงแลว้ โดยอําจจะ รับอิทธิพลควํามคิดผ่ํานมําจํากทํางอําณําจักรกัมพูชําที่เมืองพระนคร และผสมผสํานเข้ํากับควําม เชื่อท้องถิ่นดังจะเห็นได้จํากในหัวข้อถัดไป
การจัดการร่างกายของพระศพ
กํารจัดกํารต่อร่ํางกําย (body) ของพระศพถือเป็นเร่ืองสําคัญ เพรําะเป็นกํารส่งผู้ตํายให้ บรสิ ทุ ธแ์ิ ละสะอําดเพอื่ เดนิ ทํางไปสโู่ ลกหนํา้ แตใ่ นขณะเดยี วกนั กส็ ะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ รํากทํางวฒั นธรรม ดงั้ เดมิ ของผคู้ นในภมู ภิ ําคนไี้ ปพรอ้ มกนั ดว้ ย ในทน่ี ขี้ อนํา เสนอกํารจดั กํารพระศพของกษตั รยิ ล์ ํา้ นชํา้ ง
ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ 343
เสด็จสู่แดนสรวง


































































































   343   344   345   346   347