Page 353 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 353

ในวรรณกรรมเรอื่ งทา้ วฮงุ่ ทา้ วเจอื ง มกี ํารกลํา่ วถงึ กระบวนทหํารกองเกยี รตยิ ศในกระบวน ๗๑ อัญเชิญพระศพเช่นกัน ในงํานพระศพของขุนจอมธรรม พระบิดําของท้ําวฮุ่ง โดยมีทหํารและ ข้ํารําชบริพํารเดินถือหอกเดินแห่เป็นทิวแถวควํามว่ํา “ทุกที่พ้อม หอกแห่ เป็นถัน...” (ดวงเดือน
บุนยําวง และ โอทอง คําอินซู, ๒๕๔๐ : ๒๐๙) เช่นเดียวกับกํารอัญเชิญพระศพของท้ําวฮุ่งไปยัง
พระเมรุ ซึ่งได้เตรียมกองฟืนไว้สูงและมีควํามงดงํามอย่ํางยิ่ง ดังปรํากฏรํายละเอียดไว้ควํามว่ํา “แต่นั้น สาวัตถีห้างเกวียนคา ฮับอาชญ์...” (ดวงเดือน บุนยําวง และ โอทอง คําอินซู ๒๕๔๐: ๒๑๐) แสดงว่ําเดิมรําชรถนั้นมีชื่อเรียกในคําไทยว่ํา “ห้ํางเกวียนคํา” ซึ่งจํากรูปทรงแล้วก็จะเห็นได้ว่ํา รําชรถนั้น มีรูปร่ํางคล้ํายกับเกวียน เพียงแต่มําประดับประดําด้วยลวดลําย สัตว์หิมพํานต์ และ พญํานําคที่เป็นควํามเช่ือท้องถิ่นเข้ําไป เพื่อให้สอดรับกับคติควํามเชื่อจํากอินเดีย
น่ําสังเกตด้วยว่ํา องค์รําชรถของรําชสํานักล้ํานช้ํางมีควํามโดดเด่นอยู่ตรงที่มีกํารประดับ ตกแต่งรําชรถเป็นรูปพญํานําคเล้ือยและมีหีบพระศพประดิษฐํานใต้บุษบกไว้ด้ํานบนรําชรถ รําชรถเดียวท่ียังคงเหลือหลักฐํานท่ีสมบูรณ์ให้เห็นกันนั้นคือ รําชรถท่ีใช้อัญเชิญพระบรมศพสมเด็จ พระเจ้ํามหําชีวิตศรีสว่ํางวงศ์ ซึ่งเก็บรักษําอยู่ที่หอรําชโกศภํายในวัดเชียงทอง เมืองหลวงพระบําง ในปัจจุบัน ทง้ั นเ้ี นอื่ งจํากวํา่ “นําค” ถอื เปน็ สตั วศ์ กั ดส์ิ ทิ ธขิ์ องรําชอําณําจกั รลํา้ นชํา้ งและรวมถงึ ผคู้ น ในลมุ่ นํา้ โขง ดังปรํากฏกํารเรียกขํานนํามเมืองว่ํา “ศรีสัตนําคนหุตอุตมรําชธํานี” ซึ่งเป็นนํามของ นําคตนสําคัญ ซึ่งเป็นนําคผู้ขุดสร้ํางแม่น้ําโขง นอกจํากนี้แล้ว เมื่อมีกํารรับพระพุทธศําสนําเข้ํามํา นําคยงั ถกู อธบิ ํายดว้ ยวํา่ มคี วํามเกยี่ วพนั อยํา่ งลกึ ซงึ้ กบั พระพทุ ธเจํา้ เมอื่ ครงั้ เสดจ็ เลยี บโลกมํายงั ดนิ แดนลุ่มแม่น้ําโขงตํามที่ปรํากฏในตํานํานพื้นเมืองอีกด้วย (ศุภชัย สิงห์ยะบุศย์, ๒๕๕๓: ๓๗-๓๘)
นอกจํากนแี้ ลว้ ในกํารอญั เชญิ พระศพของขนุ จอมธรรมไปยงั พระเมรยุ งั มกี ระบวนนกั แสดง เลน่ กล (ไตเ่ ชอื กหนงั ) มผี คู้ นจํา นวนมํากตํา่ งชําตติ ํา่ งภําษํา มเี ครอื่ งดนตรนี ํานําชนดิ และมนี กั แสดง ฟอ้ นรํา วําดแขนอยํา่ งออ่ นชอ้ ยรว่ มฉลองคบงนั หรอื เสพงนั เพอื่ ใหเ้ กดิ ควํามรนื่ เรงิ ในงํานถวํายพระเพลงิ พระศพ ในวรรณกรรมเรื่องท้ําวฮุ่ง ท้ําวเจือง ได้นําเสนอไว้ว่ํา
“...ทุกที่พ้อม หอกแห่ ละเม็งไกวเกาะไต่หนัง
นาๆ พ้อม ภาษา กะสิงฮ่ายฟ้อน ไควค้อม
เป็นถัน ลาฟ้อน เสียงเสพ แกว่งแพน...”
(ดวงเดือน บุนยําวง และ โอทอง คําอินซู ๒๕๔๐: ๒๐๙)
จะสังเกตได้ว่ํา แนวคิดเร่ืองกํารส่งพระศพของอําณําจักรล้ํานช้ํางมีควํามสอดคล้องกับ ควํามเช่ือเรื่องควํามตํายของผู้คนในอุษําคเนย์คือมองว่ํากํารตํายคือกํารเดินทํางที่น่ํายินดี ดังนั้น ในขบวนพระศพจึงมีนักแสดงเล่นกล นักแสดงฟ้อนรํา และกํารเล่นเครื่องดนตรีประโคม
นอกจํากจะมีกระบวนเกียรติยศและกระบวนฟ้อนเสพร่วมในขบวนอัญเชิญพระศพแล้ว เป็นไปได้ว่ํานับแต่สมัยโบรําณอําจจะมีกระบวนพระสงฆ์และสํามเณรเดินนําหน้ํารําชรถอัญเชิญ พระศพดว้ ยกเ็ ปน็ ได้ เนอ่ื งจํากในงํานถวํายพระเพลงิ พระศพทํา้ วฮงุ่ ในวรรณกรรมเรอื่ งทา้ วฮงุ่ ทา้ วเจอื ง
ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ 35๑
เสด็จสู่แดนสรวง


































































































   351   352   353   354   355