Page 351 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 351
ไม่เป็นที่นิยมนัก ภูเดชสันนิษฐํานว่ําล้ํานนําน่ําจะได้รับอิทธิพลมําจํากพม่ําก่อนที่จะพัฒนําจนเป็น เอกลักษณ์แบบล้ํานนํา เมื่อล้ํานช้ํางได้รับอิทธิพลจํากล้ํานนําจึงปรับปรุงจนเป็นเอกลักษณ์ของตน เช่นกัน ดังตัวอย่ํางที่ปรํากฏในพิธีพระศพและงํานศพในชั้นหลัง เช่น ในงํานพระเมรุเจ้ําเพชรรําช พ.ศ.๒๕๐๒ มีกํารอัญเชิญพระโกศต่ํางนกหัสดีลิงค์สํามหัวมํายังพระเมรุ หรืองํานปลงศพพระเถระ ผู้ใหญ่หลํายรูปที่มีกํารปฏิบัติสืบต่อมําจนถึงปัจจุบัน (ภูเดช แสนสํา, ๒๕๕๖ : ๒๔-๓๔)
อนึ่ง ร้อยเอกลูเนต์ เดอ ลําจงกิแยร์ (Par ie copitaine Lunet de Lajonquiere) นํายทหํารชําวฝรง่ั เศสซง่ึ เขํา้ มําในตวั เมอื งเวยี งจนั ทนเ์ มอ่ื พ.ศ. ๒๔๔๔ ไดบ้ นั ทกึ ขอ้ มลู ไวว้ ํา่ ทบี่ รเิ วณ ใกล้กับวัดพระแก้วท่ีเมืองเวียงจันทน์มีอําคํารที่มีลักษณะศิลปสถําปัตยกรรมคล้ํายกับวัดพระแก้ว เรียกว่ํา “พระเมรุ” เนื่องจํากใช้เป็นที่เก็บพระศพของสมําชิกในรําชวงศ์เพื่อรอวันถวํายพระเพลิง เป็นอําคํารรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ยําวด้ํานละ ๑๐ เมตร ส่วนหลังคําหํายไป มีประตูใหญ่ ๔ ด้ําน (ลูเนต์ เดอ ลําจงกิแยร์ ๒๕๖๐) แม้ว่ําลําจงกิแยร์จะเรียกบริเวณน้ีว่ําพระเมรุซึ่งในควํามหมํายของเขําคือ สถํานที่เก็บพระศพก็ตําม แต่ก็น่ําจะเป็นข้อมูลท่ีเขําได้รับรู้มําจํากชําวลําวอีกทีหน่ึง ซ่ึงก็อําจจะ มีทั้งควํามเป็นไปได้และควํามเป็นไม่ได้ว่ําสถํานที่แห่งนี้เคยเป็นที่ใช้เก็บพระศพของพระรําชวงศ์ ในรําชสํา นกั ลํา้ นชํา้ งเมอื งเวยี งจนั ทนเ์ พอื่ บํา เพญ็ กศุ ลรอกํารถวํายพระเพลงิ แตอ่ ยํา่ งไรกต็ ําม ขอ้ มลู ดงั กลํา่ วกส็ ะทอ้ นใหเ้ หน็ วํา่ รําชสํา นกั ลํา้ นชํา้ งอําจมกี ํารสรํา้ งอําคํารขนึ้ มําเฉพําะสํา หรบั บํา เพญ็ กศุ ล พระศพกษัตริย์และพระรําชวงศ์เพ่ือรอกํารถวํายพระเพลิงพระศพ
พระเมรุมําศและรําชรถอัญเชิญพระโกศของสมเด็จพระเจ้ําศรีสว่ํางวงศ์ เมื่อ พ.ศ.๒๕๐๓ (Source: Life Magazine)
๗๑
ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ 34๙
เสด็จสู่แดนสรวง