Page 350 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 350
สถํานที่ที่ใช้ในกํารสร้ํางพระเมรุเพื่อถวํายพระเพลิงพระศพพบว่ํา สร้ํางพระเมรุขึ้นในลําน หรือพื้นที่ว่ํางใกล้กับเขตพระรําชวัง ดังตัวอย่ํางกรณีพระเจ้ําองค์หลวง (เจ้ําไชยกุมําร) ผู้ปกครอง นครจําปําศักดิ์ ได้สั่งให้สร้ํางพระเมรุถวํายพระเพลิงพระศพเจ้ําสร้อยศรีสมุทรพุทธํางกูรควํามว่ํา “...พระเจา้ องคห์ ลวงจงึ สง่ั ใหท้ า้ วพระยาเกณฑไ์ พรท่ า เมรขุ นึ้ ทขี่ า้ งวงั ครนั้ การทา เมรเุ สรจ็ แลว้ จงึ ได้ ชักศพเจ้าสร้อยศรีสมุทพุทธางกูรเข้าสู่เมรุทาบุญให้ทาน...” (ตานานเมืองนครจาปาศักดิ์ ๒๕๑๒: ๑๘๗) นอกจํากน้ี มีควํามเป็นไปได้ว่ําอําจมีกํารใช้พ้ืนที่ลํานวัดในกํารสร้ํางพระเมรุถวํายพระเพลิง พระศพกษัตริย์ล้ํานช้ํางบํางพระองค์ด้วยก็เป็นได้
ลักษณะพระเมรุที่ใช้ถวํายพระเพลิงพระศพกษัตริย์ล้ํานช้ํางน้ัน น่ําจะมีควํามใกล้เคียงกับ ข้อมูลพระเมรุที่ใช้ถวํายพระเพลิงพระศพขุนจอมธรรม พระบิดําของท้ํางฮุ่งที่ปรํากฏในวรรณกรรม เรื่องท้ําวฮุ่ง ท้ําวเจือง ซึ่งระบุลักษณะพระเมรุไว้ว่ํา เป็นพระเมรุใหญ่ สูงลิบล่ิวและงดงําม ประดับ ด้วยทองคําและแก้วหลํายชนิด ส่องประกํายวําววับ ดังปรํากฏในโคลง ควํามว่ํา
“...อันว่า เฒ่าจ่าซ้อน ฮีบแต่ง กับทั้งเชิงชะกอนบ่กว่าสู
แต่นั้นเขากะเดาดาห้าง พละเมรุหลวง สูงเผ่นขึ้นสุดล้า
ประกอบแก้ว คาพอก เมืองเมืองแสงหมู่จัง
แล้วให้ พากันแผ้วหนทาง ให้ฮาบเกี้ยง เพียงแท้
ทวนไฟ อาวแหล้ว ดูสะอาด ลูกตา
พันใส
โกแก้ว เส้นใหญ่ สะอาดงาม...”
(ดวงเดือน บุนยําวง และ โอทอง คําอินซู, ๒๕๔๐ : ๒๐๘-๒๐๙)
จํากเนื้อควํามที่แสดงข้ํางต้นยังพบว่ํา นอกจํากจะมีกํารประดับตกแต่งพระเมรุให้มี ควํามงดงํามแลว้ ทํา้ วฮงุ่ ยงั สงั่ ใหช้ ว่ ยกนั จดั แตง่ แผว้ ถํางถนนหนทํางใหก้ วํา้ งขวําง มคี วํามรําบเรยี บ และสะอําดงํามตําอีกด้วย ทั้งน้ีเป็นเพรําะในงํานพระเมรุของกษัตริย์ล้ํานช้ํางนั้นจะมีรําษฎร มําร่วมงํานเป็นจํานวนมําก จึงต้องมีกํารสร้ํางเตรียมถนนให้กว้ํางขวํางและรําบเรียบ เพื่อรองรับ กระบวนอัญเชิญพระศพด้วย
นอกจํากน้ี ภูเดช แสนสํา อําจํารย์ประจําหลักสูตรวัฒนธรรมศึกษํา มหําวิทยําลัยรําชภัฏ เชียงใหม่ ยังได้สันนิษฐํานว่ํารําชสํานักล้ํานช้ํางยังอําจมีกํารสร้ํางพระเมรุแบบปรําสําทศพต่ํางบน สตั วห์ มิ พํานต์ โดยไดร้ บั อทิ ธพิ ลผํา่ นทํางรําชอําณําจกั รลํา้ นนําและพมํา่ เนอื่ งจํากรําชสํา นกั ลํา้ นชํา้ ง และลํา้ นนําในบํางรชั กําลมคี วํามสมั พนั ธเ์ ชงิ เครอื ญําตริ ะหวํา่ งกนั และยงั เคยอยภู่ ํายใตก้ ํารปกครอง ของพม่ําในช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๒ อีกด้วย ดังปรํากฏกํารสร้ํางพระเมรุแบบปรําสําทศพต่ําง นกหัสดีลิงค์ในวัฒนธรรมล้ํานช้ําง โดยเฉพําะอย่ํางยิ่งท่ีเห็นได้ชัดในรําชสํานักเมืองจําปําศักดิ์และ เมืองอุบลรําชธํานี กํารสร้ํางพระเมรุแบบปรําสําทศพต่ํางบนสัตว์หิมพํานต์ เช่น ปรําสําทศพต่ําง ช้ํางเผอื กและนกกํารเวกเปน็ ทน่ี ยิ มในพมํา่ ทวํา่ กํารสรํา้ งพระเมรแุ บบปรําสําทศพตํา่ งบนนกหสั ดลี ิงค์
เสด็จสู่แดนสรวง
34๘ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ