Page 348 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 348
พระโกศของเจ้ํามหําชีวิตบนรําชรถ
ยางโบง ติดบ่องแปว
เมื่อนั้น โงงๆ ฆ้องกองนัน ปุนแต่งชาวไพร่น้อย เขาพ้อม
ผันไล้ เนืองปี่ พ่าเขย...”
(ดวงเดือน บุนยําวง และ โอทอง คําอินซู ๒๕๔๐: ๒๐๘)
ดังนั้น หีบพระศพที่ใช้ในกํารบรรจุพระศพกษัตริย์ล้ํานช้ํางย้อนกลับไปในอดีตนั้น มีควํามเป็นไปได้ว่ําจะมีท้ังลักษณะที่เป็นหีบพระศพและโกศพระศพ ซ่ึงน่ําจะมีพัฒนํากํารมําจําก สังคมวัฒนธรรมดั้งเดิมท่ีปรํากฏอยู่ในท้องถิ่นลุ่มแม่น้ําโขงและแม่น้ําสําขําก็เป็นได้ กรณีกํารใช้หีบ ในกํารบรรจุพระศพนั้นอําจจะมีคติหรือวัฒนธรรมที่สืบเนื่องจํากกํารบรรจุศพในโลงไม้สมัยก่อน ประวัติศําสตร์ ดังตัวอย่ํางกํารพบโลงไม้ตํามถ้ําในเขตจังหวัดอุบลรําชธํานี (สุกัญญํา เบําเนิด และ ชินณวุฒิ วิลยําลัย ๒๕๕๓: ๓๓-๔๐) และอีกหลํายกลุ่มชําติพันธุ์ท่ีทํางลําวเรียกว่ํา “ลําวเทิง” คือ กลุ่มคนบนพ้ืนที่สูง ก่อนที่จะมีพัฒนํากํารมําเป็นกํารทํารูปร่ํางโลงศพให้เป็นหีบส่ีเหลี่ยมผืนผ้ํา เพื่อบรรจุศพในหีบในลักษณะท่ํานอน
ควบคู่กันไปกับกํารใช้โลงศพ ก็พบว่ํามีกํารใช้โกศในกํารบรรจุศพเช่นกัน เร่ืองนี้อําจมี คติหรือวัฒนธรรมท่ีสืบเนื่องมําจํากสมัยก่อนประวัติศําสตร์ก็เป็นไปได้เช่นกัน โดยเฉพําะอย่ํางยิ่ง กํารฝังศพหรือฝังกระดูกไว้ในก้อนหินท่ีสกัดให้มีลักษณะคล้ํายไหหรือที่เรียกว่ํา “ไหหิน” ซ่ึงมี กํารพบจํานวนมํากในเขตที่สูงของแขวงเชียงขวําง ประเทศลําว (บุนมี เทบสีเมือง ๒๕๕๓: ๕๗-๖๐) จํากนั้นอําจค่อยๆ มีพัฒนํากํารมําสู่กํารใช้ไม้สร้ํางเลียนแบบไหหินและกลํายมําเป็นโกศบรรจุศพ ในที่สุด และคงมีกํารแกะสลักลวดลําย ปิดทองและตกแต่งด้ํานนอกของพระโกศอย่ํางงดงําม สมพระเกียรติ
ไหหินท่ีทุ่งไหหิน แขวงเชียงขวําง ประเทศลําว รํากของประเพณี กํารเกบ็ กระดกู ในโกศ(Source:http://www.remotelands.com/ images/citys/1302110002.jpg)
เสด็จสู่แดนสรวง
34๖ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ