Page 72 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 72
ภําพที่ ๑๒ พระแท่นรําชบัลลังก์ประดับมุกประดิษฐํานพระพุทธรูปประจําพระชนมวําร ภํายใต้พระนพปฎลมหําเศวตฉัตร (ที่มํา: สํานักพระรําชวัง ๒๕๖๐)
ในขณะเดียวกันเมื่อมีกํารประดิษฐํานพระบรมโกศ ณ พระที่นั่งดุสิตมหําปรําสําทแล้วจะ มกี ํารถวํายประโคมยํา่ ยํามเพอ่ื เปน็ เครอื่ งประกอบพระรําชอสิ รยิ ยศอกี ประกํารหนงึ่ ดว้ ย และระหวํา่ ง ทปี่ ระดษิ ฐํานพระบรมโกศนเี้ องกเ็ ปน็ ชว่ งเวลําทจี่ ะไดเ้ รมิ่ กํารกอ่ สรํา้ งพระเมรมุ ําศ ณ ทอ้ งสนํามหลวง เพื่อเป็นสถํานท่ีถวํายพระเพลิงพระบรมศพ
พระเมรุ พระเมรุมาศ: สถานที่ถวายพระเพลิงพระบรมศพ
สมเด็จฯ กรมพระยําดํารงรําชํานุภําพทรงอธิบํายคติควํามเช่ือในศําสนําพรําหมณ์ที่ เกี่ยวข้องกับสถํานะของพระมหํากษัตริย์ว่ํา “ด้วยคติของพวกพราหมณ์ถือว่า พระเจ้าแผ่นดินเปน พระอศิ วรหรอื พระนารายณแ์ บง่ ภาคลงมาบา รงุ โลก เจา้ นายซงึ่ เปนพระราชบตุ รแลพระราชธดิ ากเ็ ปน เทพบุตรแลเทพธิดา เมื่อส้ินชาติในโลกนี้แล้ว ย่อมกลับคืนไปสู่สวรรคเทวโลกตามเดิม เพราะเหตุนี้ ถอื วา่ พระเจา้ แผน่ ดนิ แลเจา้ นายกลบั เปนเทวดาตง้ั แตเ่ วลาสน้ิ พระชนมชพี จงึ แตง่ พระศพเปนเทวดา ประเพณีท่ีใส่โกษฐตั้งบนฐานแว่นฟ้า แลเรียกท่ีถวายพระเพลิงพระศพว่า “เมรุ” ก็น่าจะเนื่องมาแต่ คติท่ีถือว่าเป็นเทวดาน้ันเอง” (สมเด็จฯ กรมพระยําดํารงรําชํานุภําพ ๒๔๗๐: ๑-๒)
พระเมรุท่ีสร้ํางขึ้นเพ่ือถวํายพระเพลิงพระบรมศพพระมหํากษัตริย์จึงมีควํามหมํายถึง เขําพระสเุ มรุ อนั เปน็ ทปี่ ระทบั ของเทพเจํา้ และเปน็ ศนู ยก์ ลํางจกั รวําล พระเมรจุ งึ ไดร้ บั กํารออกแบบ
เสด็จสู่แดนสรวง
๗๐ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ