Page 73 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 73
ใหเ้ ปน็ อําคํารทมี่ ขี นําดใหญแ่ ละมคี วํามสงู มํากทสี่ ดุ ในมณฑลพระรําชพธิ ี โดยมรี ปู แบบเปน็ เรอื นชน้ั ซอ้ น และเรือนยอดท่ีแสดงฐํานันดรศักดิ์ทํางสถําปัตยกรรม ในอดีตที่ผ่ํานมําพบว่ําพระเมรุพระบรมศพ พระมหํากษัตริย์รัชกําลที่ ๑-๔ มีรูปแบบเป็นอําคํารทรงปรําสําทยอดปรํางค์ และต้ังแต่รัชกําลที่ ๕ เปน็ ตน้ มํา จงึ มยี อดเปน็ ทรงปรําสําทเรยี วแหลมคลํา้ ยกบั ยอดพระมหําปรําสําทในพระบรมมหํารําชวงั ซงึ่ อําจตคี วํามไดว้ ํา่ พระเมรทุ ส่ี รํา้ งขนึ้ นนั้ กค็ อื สญั ลกั ษณแ์ หง่ ทปี่ ระทบั ของพระมหํากษตั รยิ ์ อนั เปรยี บได้ กับพระมหําปรําสําทท่ีประทับเมื่อทรงพระชนม์ชีพ
นอกจํากน้ี ยังมีอําคํารบริวํารต่ํางๆ ท่ีมีขนําดและควํามสูงลดหลั่นกันลงมําอยู่แวดล้อม พระเมรุ ซงึ่ เปรยี บไดก้ บั เขําสตั ตบรภิ ณั ฑแ์ ละทวปี ตํา่ งๆ ทอี่ ยลู่ อ้ มรอบเขําพระสเุ มรนุ นั้ ทงั้ ยงั ตกแตง่ บริเวณโดยรอบพระเมรุด้วยรูปเทพเทวํา และสัตว์หิมพํานต์ต่ํางๆ เพื่อจําลองฉํากสรวงสวรรค์ อนั เปน็ ทส่ี ถติ ประทบั ของพระมหํากษตั รยิ เ์ มอ่ื สวรรคต ตลอดจนจดั ใหม้ กี ํารละเลน่ และมหรสพตํา่ งๆ ในพระรําชพิธีนี้ เสมือนหนึ่งว่ําเป็นกํารสมโภชเพื่อส่งเสด็จดวงพระวิญญําณคืนสู่สรวงสวรรค์
สนํามหลวงหรือท่ีเรียกอีกชื่อหนึ่งว่ํา “ทุ่งพระเมรุ” เป็นสถํานที่ก่อสร้ํางพระเมรุมําศ เพื่อถวํายพระเพลิงพระบรมศพมําแต่ครั้งรัชกําลที่ ๑ ที่ได้มีพระรําชพิธีถวํายพระเพลิงพระบรมอัฐิ สมเด็จพระปฐมบรมมหําชนก จวบจนกระทั่งในปัจจุบันที่ยังคงเป็นสถํานที่ก่อสร้ํางพระเมรุมําศ พระบําทสมเด็จพระปรมินทรมหําภูมิพลอดุลยเดช ควํามยิ่งใหญ่ของพระเมรุในรัชกําลต่ํางๆ ของ สมัยรัตนโกสินทร์น้ันมีรํายละเอียดกํารก่อสร้ํางที่แตกต่ํางกันในแต่ละรัชสมัย โดยในระยะแรกนั้น ยังคงเรียกว่ํา “พระเมรุ” ดังตัวอย่ํางกํารเกณฑ์ไม้เพ่ือก่อสร้ํางพระเมรุในงํานพระบรมศพพระบําท สมเด็จพระพุทธยอดฟ้ําจุฬําโลก โดยรัชกําลที่ ๒ ได้มีพระรําชดํารัสสั่งให้ “...เกณฑ์ไม้เคร่ือง พระเมรุ หวั เมอื งเอกหวั เมอื งโทตรจี ตั วาปากใตฝ้ า่ ยเหนอื ทงั้ ปวงใหจ้ ดั สง่ มา ณ กรงุ เทพฯ เจา้ พนกั งาน ได้จัดการทาพระเมรุเสาเส้นหน่ึง ข่ือยาว ๗ วา พระเมรุสูงตลอดยอดนั้น ๒ เส้น ภายในพระเมรุทอง สูง ๑๐ วา ตั้งเบญจารับพระบรมโกฐ มีเมรุทิศทั้งแปด มีสามสร้างตามระหว่างเมรุทิศ ชั้นในมี ราชวัตรทึบ ฉัตรเงินฉัตรทองฉัตรนากสลับกัน ...” (เจ้ําพระยําทิพํากรวงศ์ ๒๕๔๘: ๔๐-๔๑)
จํากข้อควํามดังกล่ําวทําให้ทรําบว่ํา แต่เดิมนั้นพระเมรุเป็นอําคํารที่มีขนําดสูงใหญ่ โดยมี ควํามสูงถึง ๒ เส้น หรือประมําณ ๘๐ เมตร โดยภํายในพระเมรุยังมี “พระเมรุทอง” อีกองค์หนึ่ง ที่มีขนําดควํามสูง ๑๐ วํา หรือประมําณ ๒๐ เมตร เพื่อประดิษฐํานพระบรมโกศไว้ภํายใน โดยมี อําคํารอื่นๆ ประกอบโดยรอบพระเมรุ เช่น เมรุบริวํารทั้งแปดทิศ ล้อมรอบมณฑลด้วยรําชวัติหรือ รั้วล้อมและตั้งฉัตรต่ํางๆประดับ กํารก่อสร้ํางพระเมรุในอดีตนั้นใช้วัสดุที่เป็นเคร่ืองไม้ซ่ึงได้เกณฑ์ ไม้ขนําดใหญ่จํากหัวเมืองต่ํางๆ จัดส่งเข้ํามํายังรําชสํานัก กํารก่อสร้ํางจึงต้องใช้ระยะเวลํายําวนําน หลํายเดือน หรืออําจเป็นปีถัดไปหลังจํากสวรรคต ซ่ึงโดยมํากมักก่อสร้ํางให้แล้วเสร็จทันในช่วง ฤดูแล้งเพื่อไม่ให้เป็นอุปสรรคในพระรําชพิธีถวํายพระเพลิงพระบรมศพ
กํารปลกู สรํา้ งพระเมรุ ณ ทอ้ งสนํามหลวงเพอื่ ถวํายพระเพลงิ พระบรมศพพระมหํากษตั รยิ ์ ในสมยั ตน้ กรงุ รตั นโกสนิ ทรท์ ยี่ งั คงควํามยง่ิ ใหญอ่ ยํา่ งทไี่ มอ่ ําจพบเหน็ ไดใ้ นปจั จบุ นั นน้ั มตี วั อยํา่ งให้ ศึกษําได้จํากภําพถ่ํายเก่ํา เช่นภําพที่สันนิษฐํานว่ําเป็นภําพงํานพระเมรุในพระรําชพิธีพระบรมศพ รัชกําลท่ี ๔ หลังจํากน้ันกํารปลูกสร้ํางพระเมรุได้เร่ิมปรับลดขนําดลงตั้งแต่พระรําชพิธีพระบรมศพ
๒
ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๗๑
เสด็จสู่แดนสรวง