Page 89 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 89
กว่ํา ๔๒ ปี จึงไม่มีกํารตระเตรียมกํารพระบรมศพล่วงหน้ําด้วยเป็นกํารไม่สมควร ทําให้ขําดผู้รู้เร่ือง พระรําชพิธีพระบรมศพ ดังข้อควํามที่ว่ํา
“พระราชพิธีมีกาหนดไว้ในโบราณราชประเพณี แต่ไม่สามารถหาผู้ท่ีจดจา ไดอ้ ยา่ งแมน่ ยา เปน็ เวลานานถงึ ๔๒ ปี ตง้ั แตพ่ ระเจา้ แผน่ ดนิ สยามองคล์ า่ สดุ [รชั กาล ที่ ๔] เสด็จสวรรคต จะตระเตรียมล่วงหน้า เพราะการปรึกษาหารือเรื่องพระราชพิธี พระบรมศพขณะพระเจ้าแผ่นดินยังดารงพระชนม์ชีพอยู่ถือเป็นการประสงค์ร้าย ต้องมีรายละเอียดของหมายกาหนดการด้วย ดังนั้น จึงมีการค้นคว้าทางเอกสารของ ราชการ หลักฐานเก่าๆ ถูกนามาอ้างอิง มีการถกเถียงกันไม่สิ้นสุด ทั้งหมดหมายถึง การล่าช้าเชือนแช ผลก็คือแทนท่ีจะได้ทาในตอนบ่ายต้องไปกระทาหลังพระอาทิตย์ ตกนั่นคือเวลาหนึ่งทุ่มและมืดสนิทกว่าพระราชพิธีสรงน้าพระบรมศพจะเสร็จส้ิน” (มัลคอล์ม สมิธ ๒๕๔๖: ๑๖๙-๑๗๐)
3
ในกํารสรงนํา้ ของฝํา่ ยหนํา้ สมเดจ็ พระเจํา้ อยหู่ วั รชั กําลท่ี ๖ เสดจ็ เขํา้ ไปสรงนํา้ พระบรมศพ เป็นพระองค์แรก ตํามด้วยบรรดําพระบรมวงศํานุวงศ์ ในระหว่ํางนี้เจ้ําพนักงํานประโคมแตรสังข์ กลองชนะ มโหระทกึ (จมน่ื อมรดรณุ ํารกั ษ์ ๒๕๑๔: ๑๖) หลงั จํากถวํายนํา้ สรงพระบรมศพแลว้ สมเดจ็ พระศรีพัชรินทรําบรมรําชินีนําถ ทรงสํางพระเกศําพระบรมศพด้วยพระสํางไม้ แล้วทรงหักท้ิงเพ่ือ ไม่ให้สํามํารถนํามําใช้ได้อีก (มัลคอล์ม สมิธ ๒๕๔๖: ๑๗๐) จํากนั้นเจ้ําพนักงํานกรมพระภูษํามําลํา ถวํายเครอื่ งทรง แลเชญิ พระบรมศพลงพระลองเงนิ ลงมําจํากพระทนี่ งั่ อมั พรสถําน ขน้ึ มําประดษิ ฐําน บนพระยํานมําศสํามลําคําน มีพระนพปฎลมหําเศวตรฉัตรคันดําล (เศวตรฉัตรที่ใช้คันหักมุมเป็น ฉํากออกไปเพื่อให้ตัวฉัตรอยู่กึ่งกลํางพระบรมโกศ) กั้น
ทหํารมหําดเลก็ พรอ้ มแตรวงถวํายวนั ทยําวธุ และบรรเลงเพลงสรรเสรญิ พระบํารมีเจํา้ พนกั งําน ป ร ะ ก อ บ พ ร ะ โ ก ศ ท อ ง ใ ห ญ ่ พ ร ะ เ จ ํา้ ล กู ย ํา เ ธ อ พ ร ะ อ ง ค เ์ จ ํา้ ด ลิ ก น พ ร ตั น ์ แ ล ะ พ ร ะ เ จ ํา้ ล กู ย ํา เ ธ อ พ ร ะ อ ง ค เ์ จ ้ ํา สรุ ยิ งคป์ ระยรู พนั ธเ์ ปน็ ผปู้ ระคองพระโกศ เขํา้ กระบวนอญั เชญิ พระบรมศพไปยงั พระบรมมหํารําชวงั โดยตลอดเวลําทมี่ กี ํารถวํายนํา้ สรงพระบรมศพ กรมทหํารบกและทหํารเรอื ยงิ สลตุ ปนื ใหญถ่ วํายคํา นบั ทุกนําที จนกระทั่งพระบรมศพประดิษฐํานบนพระที่นั่งดุสิตมหําปรําสําทเสร็จสิ้นในเวลํา ๒๒.๐๐ น. จึงหยุดยิงปืนใหญ่ (จมื่นอมรดรุณํารักษ์ ๒๕๑๔: ๑๖-๒๕)
๖. การสรงน้าพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบําทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลํา้ เจํา้ อยหู่ วั เสดจ็ สวรรคตเมอื่ วนั ท่ี ๒๖ พฤศจกิ ํายน พ.ศ.๒๔๖๘ เวลํา ๐๑.๔๕ น. ณ พระทน่ี งั่ จกั รพรรดพิ มิ ําน กํารถวํายนํา้ สรงพระบรมศพจงึ จดั ขนึ้ ณ พระทนี่ ง่ั แห่งน้ี ซ่ึงต้องด้วยพระรําชประสงค์ของรัชกําลที่ ๖ ดังท่ีทรงมีรับสั่งในพระรําชพินัยกรรมไว้เม่ือวันที่ ๑๐ พฤษภําคม พ.ศ.๒๔๖๓ กอ่ นเสดจ็ สวรรคต ๕ ปี วํา่ “...ถา้ ขา้ พเจา้ สวรรคตลง ณ แหง่ ใดแหง่ หนงึ่ นอกจากในพระบรมมหาราชวัง ให้เชิญพระบรมศพโดยเงียบๆ เข้าไปยังพระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน แล้วจึงให้เชิญไปประดิษฐาน ณ พระท่ีน่ังดุสิตมหาปราสาท...” (จม่ืนอมรดรุณํารักษ์ ๒๕๑๔: ๖๑)
ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๘๗
เสด็จสู่แดนสรวง