Page 90 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 90
กํารสรงน้ําพระบรมศพเริ่มขึ้นในเวลํา ๑๓.๐๐ น. ขณะนั้นมีกํารยิงปืนใหญ่นําทีละ ๑ นัด จนกว่ําจะเสร็จสิ้นกํารประดิษฐํานพระบรมศพ เม่ือสรงพระบรมศพแล้วจึงอัญเชิญลงสู่พระลองเงิน เชญิ จํากพระทนี่ งั่ จกั รพรรดพิ มิ ํานขนึ้ ประดษิ ฐํานเหนอื พระเสลยี่ งแวน่ ฟํา้ ออกทํางประตสู นํามรําชกจิ เช่นเดียวกับพระบรมศพรัชกําลที่ ๑-๔ และเชิญข้ึนประดิษฐํานเหนือพระยํานนุมําศสํามลําคําน ปกั พระมหําเศวตรฉตั รคนั ดําล ประกอบพระโกศทองใหญ่ ตงั้ กระบวนพยหุ ยําตรํา ๔ สํายไปประดษิ ฐําน ยังพระที่นั่งดุสิตมหําปรําสําท (ประยุทธ สิทธิพันธ์ ๒๕๑๕: ๔๑๖-๔๑๗)
๗. การสรงน้าพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบําทสมเด็จพระปกเกล้ําเจ้ําอยู่หัวทรงสละรําชสมบัติเนื่องจํากทรงขัดแย้งกับ คณะรําษฎรในเหตกุ ํารณ์ ๒๔๗๕ เปน็ เหตใุ หพ้ ระองคจ์ ํา ตอ้ งเสดจ็ ไปประทบั ณ พระตํา หนกั คอมพต์ นั ประเทศอังกฤษ ดังน้ัน ในส่วนของกํารจัดกํารพระบรมศพ จึงทรงมีพระรําชประสงค์และรับสั่งให้ ข้ํารําชบริพํารผู้ใกล้ชิดจัดกํารให้เป็นไปอย่ํางเรียบง่ําย ดังท่ี ม.จ.พูนพิศมัย ดิศกุล บันทึกไว้ว่ํา
“สมเดจ็ พระปกเกลา้ ทรงสงั่ ไวว้ า่ ถา้ พระองคส์ วรรคตเมอ่ื ไรใหท้ รงพระภษู า แดงและทรงสะพักผ้าขาวผืนเดียวเอาลงหีบแล้วให้รีบถวายพระเพลิงพระบรมศพ ให้เร็วเท่าท่ีจะทาได้. และไม่ให้รับเกียรติยศอย่างใดๆ จนอย่างเดียวทั้งในทางต่าง ประเทศและทางไทย. ให้เอาซอไวโอลินไปเล่นเพลงที่พระองค์โปรดคันเดียวในเวลา ที่กาลังถวายพระเพลิงเพื่อแทนการประโคม” (พูนพิศมัย ดิศกุล ๒๕๕๑: ๑๗๘)
เมื่อพระบําทสมเด็จพระปกเกล้ําเจ้ําอยู่หัวเสด็จสวรรคตด้วยพระอํากํารพระหทัยวํายเมื่อ วันที่ ๓๐ พฤษภําคม พ.ศ. ๒๔๘๔ ในหนังสือเจ้ําฟ้ําประชําธิปกผู้นิรําศ กล่ําวถึงขั้นตอนกํารสรงน้ํา พระบรมศพไวว้ ํา่ ขํา้ รําชบรพิ ํารทชี่ อื่ นํายบวย เปน็ ผสู้ รงนํา้ พระบรมศพทเ่ี จอื ดว้ ยนํา้ อบไทย จํากนนั้ มกี ํารแตง่ ฉลองพระองคด์ ว้ ยพระภษู ําสแี ดง ทรงเสอ้ื ชนั้ นอกปดิ คอสขี ําว และหวพี ระเกศํา สว่ นกํารจดั พระบรมศพนนั้ เนอื่ งจํากไมไ่ ดเ้ ขํา้ พระบรมโกศจงึ จดั ใหอ้ ยใู่ นทํา่ บรรทมตํามปกติ จํากนนั้ “...สปั เหรอ่ ฝรงั่ สองคนพรอ้ มดว้ ยหบี ศพไมแ้ บบยโุ รปสเ่ี หลย่ี มขา้ งในบนุ วมแพรกม็ าถงึ สปั เหรอ่ ฉดี ยาใหพ้ ระบรมศพ แล้วก็อัญเชิญลงสู่หีบไม้เปิดฝาไว้ ใช้ผ้าคลุม เพ่ือให้ผู้ที่จะถวายบังคมพระบรมศพได้มองเห็น พระพักตร์เป็นครั้งสุดท้าย...” (ศิลปชัย ชําญเฉลิม ๒๕๓๐: ๖๗๕)
อําจกล่ําวได้ว่ําพระบําทสมเด็จพระปกเกล้ําเจ้ําอยู่หัวเป็นพระมหํากษัตริย์ในรําชวงศ์จักรี เพียงพระองค์เดียวที่สวรรคตในต่ํางประเทศ และมิได้มีกํารจัดพระรําชพิธีพระบรมศพตํามอย่ําง โบรําณรําชประเพณี เนอื่ งจํากพระรําชประสงคท์ ม่ี ใิ หเ้ ชญิ พระบรมศพกลบั มํายงั ประเทศไทย รวมถงึ ปัจจัยทํางกํารเมืองในขณะนั้นที่ทําให้พระบรมวงศํานุวงศ์ หรือขุนนํางส่วนหนึ่งไม่กล้ําไปร่วมงําน พระบรมศพ เนอื่ งจํากกลวั ขอ้ กลํา่ วหําทํางกํารเมอื ง ดงั ที่ ม.จ.พนู พศิ มยั บนั ทกึ ไวว้ ํา่ “...งานพระบรมศพ กม็ เี พยี งรถยนตส์ มเดจ็ พระนางรา ไพฯ และพระญาตพิ ระวงศช์ นั้ เดก็ ๆ ตามไปแค่ ๓ รถ ไมม่ ใี ครกลา้ เกี่ยวข้องด้วยได้, เพราะเกรงไปว่าจะเป็นการเมือง. ในฐานะท่ีพระองค์ถูกเป็นศัตรูของรัฐบาลไทย. จึงไม่มีใครกล้าแม้จะนึกถึงด้วยความสงสาร...” (พูนพิศมัย ดิศกุล ๒๕๕๑: ๑๘๐)
เสด็จสู่แดนสรวง
๘๘ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ