Page 290 - Luang Anusarn Sunthornkit
P. 290

 286 20-11-2017
Joseph Nicéphore Niépce พ.ศ.๒๓๐๘–๒๓๗๖ คือชื่อของคนสาคัญคนหนึ่งในประวัติศาสตร์การถ่ายภาพ เพราะ เขาเป็นคนท่ีค้นพบการบันทึกแสงบนแผ่นโลหะเคลือบสารไวแสงเป็นคนแรก ในปีพ.ศ.๒๓๖๙ (ค.ศ.๑๘๒๖) เมอร์ซิเออร์โจ เซฟ นิเซฟอร์ นิเอปซ์ ชาวฝรั่งเศส ได้ใช้กล้องถ่ายภาพบันทึกจากหน้าต่างบ้านของเขาโดยใช้สารเคมีไวแสงบางชนิงโดยฉาบ เคมเี หลา่ นน้ั บนแผน่ โลหะผสมระหวา่ งดบี กุ กบั ตะกวั่ และผา่ นกระบวนการสรา้ งภาพซง่ึ ในการบนั ทกึ ภาพนน้ั กเ็ ปดิ เลนสร์ บั แสง ให้ไปกระทบและบันทึกบนแผ่นโลหะผสมนั้นราว ๘ ชั่วโมง ภาพจากหน้าต่างภาพน้ันถือเป็นภาพแรกของโลกที่คงทนแม้จะ ใช้เวลาเปิดรับแสงนาน และภาพที่ได้ไม่คมชัดก็ตาม แม้จะมีความพยายามบันทึกภาพด้วยแสงมาตั้งแต่สมัยโบราณแต่ภาพ ท่ีบันทึกได้น้ันลางเลือนไปอย่างรวดเร็ว
ต่อมาในปี พ.ศ.๒๓๗๒ (ค.ศ.๑๘๒๙) ด้วยความพยายามของจิตรกรชาวฝรั่งเศส Louis Jacques Mande Daguerre (พ.ศ.๒๓๓๐–๒๓๙๔) ซ่ึงเมอร์ซิเออร์หลุยส์ ฌากส์ มองด์ ดาแกร์ คงจะต้องเป็นนักเคมี และนักประดิษฐ์ในคนๆ เดียวกัน ได้ร่วมมือกับเมอร์ซิเออร์นิเอปซ์ ในการค้นคว้าเรื่องวัสดุไวแสงจาพวกซิลเวอร์คลอไรด์เพื่อใช้ในการบันทึกภาพ และได้ผล สา เรจ็ เมอื่ ปี พ.ศ. ๒๓๘๐ (ค.ศ. ๑๘๓๗) ตรงกบั รชั สมยั พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ ๓กระนน้ั เมอรซ์ เิ ออรน์ เิ ปซผ์ รู้ ว่ มงาน ของเขาได้ถึงแก่กรรมไปก่อนที่จะได้ร่วมฉลองการค้นพบคร้ังสาคัญนี้
ทหี่ นา้ ตา่ งบนอพาทเมนทบ์ น Boulevard du Temple ถนนตอมปล์ กรงุ ปารสี เชน่ กนั ทเี่ มอรซ์ เิ ออรด์ าแกรถ์ า่ ยภาพผา่ น บานหน้าต่างซ่ึงบันทึกไว้ว่าเป็นภาพถ่ายที่มีคนอยู่ในภาพคร้ังแรก แม้ว่าการเปิดรับแสงเพื่อบันทึกภาพจะใช้เวลานาน ถนน อันพลุกพล่านด้วยคนปารีเซียงจะไม่ถูกบันทึกไว้เพราะไม่นิ่งพอที่จะเก็บภาพไว้ แต่ชายคนหนึ่งที่ยืนนิ่งนานพอได้ถูกบันทึกไว้
สองปีต่อมาในเดือนสิงหาคม พ.ศ.๒๓๘๒ (ค.ศ.๑๘๓๙) ราชบัณฑิตยสถานแห่งฝรั่งเศสได้ประกาศให้โลกได้รู้จักกับส่ิง ประดิษฐ์ชนิดใหม่ท่ีส่งผลต่อการจดบันทึกทางประวัติศาสตร์ และศิลปะของโลกที่ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไปและโดยไม่มีการจด สิทธิบัตร ฉะน้ันเทคโนโลยีแบบดาแกร์จึงถูกพัฒนาอย่างต่อเนื่องโดยนักประดิษฐ์อย่างกว้างขวาง
การถ่ายภาพแบบ Daguerrotype ดาแกร์โรไทป์นี้ใช้เวลาเปิดรับแสงประมาณ ๔๐ นาที ใช้เวลาลดลงอย่างสาคัญเม่ือ เทียบกับเทคโนโลยีการถ่ายภาพของเมอร์ซิเออร์นิเอปซ์ หน่ึงทศวรรษก่อนหน้าน้ีซึ่งใช้เวลา ๘ ชั่วโมง และเมื่อมีการพัฒนา เก่ียวกับเคมี เลนส์ และแผ่นโลหะเคลือบสารเคมีท่ีไวแสงมากข้ึน การเปิดรับแสงของแผ่นโลหะจึงใช้เวลาน้อยลงเร่ือยๆ ในระยะแรกการบันทึกแสงลงบนแผ่นเงินที่ขัดเป็นมันวาวซ่ึงอังด้วยไอของไอโอดีนทาให้เกิดซิลเวอร์ไอโอไดด์ซึ่งเป็นสารไว แสง จากนั้นนาไปติดตั้งอยู่หลังกล้องถ่ายภาพ เมื่อแผ่นโลหะผ่านการรับแสงแล้วจึงนามาผ่านกระบวนการสร้างภาพซ่ึงมี กระบวนการท่ีซับซ้อน ถึงจะเกิดภาพขึ้นมาบนแผ่นเงินน้ัน ต่อมามีการทดลองใช้โลหะแบบต่างๆ ในการบันทึกภาพ
การถา่ ยภาพแบบดาแกรน์ ใ้ี ชเ้ วลานานเปน็ นาที จงึ นยิ มใชบ้ นั ทกึ ภาพทวิ ทศั น์ มภี าพพอรท์ เทรทบา้ งแตต่ วั แบบตอ้ งยนื นง่ิ นานๆ เพื่อให้ภาพคมชัด หากสังเกตุดีในภาพถ่ายบุคคลระยะแรกจะมีแกนเหล็กให้ตัวแบบพิงคอเพราะเมื่ออยู่ในท่าเดียวกัน นานๆ จะเกดิ อาการเมอื่ ยลา้ เมอื่ ตวั แบบนงิ่ ไดน้ านพอทแ่ี ผน่ โลหะจะบนั ทกึ แสงภาพทอี่ อกมาจะคมชดั คณุ ภาพดี ชา่ งภาพนนั้ นอกจากจะตอ้ งมคี วามชา นาญในการใชก้ ลอ้ งแลว้ ยงั ตอ้ งมคี วามรเู้ กย่ี วกบั สารเคมี และการเปดิ รบั แสงบนั ทกึ ภาพเพราะตอ้ งใช้




























































































   288   289   290   291   292