Page 291 - Luang Anusarn Sunthornkit
P. 291

  ประสบการณ์ของช่างภาพในการคานวณปริมาณแสงที่ต้องเปิดหน้ากล้อง เพราะช่วงเวลาในหน่ึงวันการเปิดเลนส์รับแสงย่อม ไม่เท่ากัน
บนั ทกึ ไวว้ า่ การถา่ ยภาพแบบดาแกรไ์ ดร้ บั ความนยิ มไปทวั่ โลกอยา่ งรวดเรว็ และ ๖ปหี ลงั จากการประกาศของราชบณั ฑติ แห่งประเทศฝรั่งเศส ชาวสยามจึงได้รู้จักกล้องแบบดาแกร์ซ่ึงได้นาเข้ามาเป็นท่ีรู้จักในสยามโดยการส่ังซ้ือกล้องและเครื่องมือ จากฝร่ังเศสโดย สังฆราช ปาล เลอ กัว ชาวฝร่ังเศส ในรัชสมัยพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชการที่ ๓
การพัฒนาเทคโนโลยีการถ่ายภาพยังดาเนินต่อไป ข้ามฝั่งไปยังเกาะอังกฤษราวๆ ๒ทศวรรษต่อมา ค.ศ.๑๘๕๑ ที่ ลอนดอนMr.FrederichScottArcher(๑๘๑๓–๑๘๕๗)มสิเตอรเ์ฟรเดอรกิ สกอตต์อารเ์ชอร์นกัประดษิฐช์าวองักฤษ ได้คิดค้นการถ่ายภาพด้วยการบันทึกแสงลงบน Wet Plate (กระจกเปียก) คือการนากระจกมาเคลือบด้วยน้ายาโคโลเดียน ซ่ึงเป็นของเหลวข้นหนืด แล้วนาไปแช่ในสารละลายซิลเวอร์ไนเตรทซึ่งเตรียมไว้ในถังแช่ประมาณ ๓–๕ นาที ซ่ึงสารซิลเวอร์ ไนเตรทน้ีเป็นสารไวแสงทาหน้าท่ีดูดซับแสงเพื่อเก็บภาพไว้บนแผ่นกระจก เมื่อนาไปถ่ายภาพแสงจะถูกเปิดให้กระจกไว้แสงนี้ ดูดซับไว้ตามเวลาท่ีเหมาะสม จากน้ันนามาผ่านกระบวนการสร้างภาพด้วยน้ายาแกลลิกแอซิด (Pyrogallic Acid) หรือเฟ อรัสซัลเฟด (Ferrous Sulphate) และล้างน้ายาไฮโปเพื่อคงสภาพ และข้ันตอนสุดท้ายคือการอังเปลวไฟอ่อนเพ่ือทาให้แห้ง แล้วฉาบซ้าด้วยน้ายารักษาภาพเพ่ือป้องกันการขีดข่วนและสามารถเก็บไว้ได้นาน การถ่ายภาพด้วยกระบวนการ Wet Plate น้ีต้องทาในขณะท่ีกระจกเคลือบสารไวแสงยังเปียกอยู่ เพราะเมื่อสารเคมีที่เคลือบไว้แห้งจะทาให้ความไวแสงเสื่อมสภาพซ่ึง หมายความว่าต้องใช้เวลาในการบันทึกแสงมากขึ้น หรืออาจทาให้ภาพไม่ติด
ระบบ Wet Plate น้ีสามารถใช้เวลาในการบันทึกแสงน้อยลงเม่ือเทียบกับระบบดาแกร์ แต่ข้ันตอนในการเตรียมกระจก เคลอื บสารไวแสง และกระบวนการสรา้ งภาพนนั้ ยงั ซบั ซอ้ นอยู่ บางกระบวนการตอ้ งทา ในทมี่ ดื สนทิ ฉะนนั้ จะตอ้ งมกี ารเตรยี มก ระโจมในกรณีถ่ายภาพนอกสถานท่ี กระนั้นข้อดีของระบบ Wet Plate คือกระจกต้นฉบับซึ่งใช้บันทึกภาพสามารถใช้เป็นต้น แบบในการพิมพ์ภาพบนกระดาษซ้าได้โดยไม่จากัด
ระบบการบันทึกภาพด้วยกระจกไวแสงแบบ Wet Plate นี้ มิสเตอร์อาเชอร์ไม่ได้จดสิทธิบัตรไว้เช่นเดียวกับเมอร์ซิเออร์ ดาแกร์ ระบบ Wet Plate จึงได้รับการพัฒนาอย่างรวดเร็วเช่นเดียวกับการถ่ายภาพแบบดาแกร์ การถ่ายภาพแบบ Wet Plate จึงแพร่หลายและได้รับความนิยมแทนระบบดาแกร์ รวมถึงเทคโนโลยีการถ่ายภาพได้รับการสานต่อในการคิดค้นและ เติบโตข้ึนอย่างรวดเร็ว
ไม่นานต่อมาราวปี พ.ศ.๒๔๐๗ (ค.ศ.๑๘๖๔) เมื่อระบบ Dry Plate ถูกพัฒนาเป็นแผ่นไวแสงสาเร็จรูปสะดวกต่อการ ใช้งาน ช่างภาพไม่ต้องหอบหิ้วกระโจมเพ่ือทาแผ่นกระจกเปียก และกระบวนการสร้างภาพ รวมไปถึงสัมภาระและเคมีต่างๆ มากมาย แตส่ ามารถพกกระจกสา เรจ็ รปู ใสห่ บี ไปถา่ ยภาพไกล ๆ และเวลาใดไดส้ ะดวกขนึ้ แตใ่ นระยะแรกชา่ งภาพตอ้ งเปดิ เลนส์ ในการบันทึกแสงลงบนกระจกไวแสงแบบแห้งนานกว่าแบบกระจกเปียกต่อมาจึงพัฒนากระจกแบบแห้งได้คุณภาพที่ดีข้ึนโดย ฉาบเจลาตนิ gelatin บนกระจกแทนนา้ ยาคอลโลเดยี นทา ใหก้ ระจกแบบแหง้ ไมม่ กี ลน่ิ เหมน็ ของเคมี และใชเ้ วลาในการบนั ทกึ
287 20-11-2017




























































































   289   290   291   292   293