Page 293 - Luang Anusarn Sunthornkit
P. 293
ปจั จบุ นั ใชเ้ วลาเพยี งวนิ าที และความไวแสงของกลอ้ งสามารถพฒั นาจนสามารถถา่ ยภาพในสง่ิ ทม่ี นษุ ยม์ องไมเ่ หน็ เทคโนโลยี การถ่ายภาพได้เปล่ียนให้กล้องถ่ายภาพเข้าไปอยู่ในชีวิตประจาวัน และสามารถถ่ายภาพได้ทุกที่ และทุกเวลา
กลางปีพ.ศ.๒๕๕๖ เม่ือผมก้าวเข้าไปในสานักงานของห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคลอนุสารสุนทรเชียงใหม่ ในห้องทางาน ของผู้บริหารการตกแต่งโอ่อ่าเรียบง่ายเหมือนเวลาถูกหยุดไว้เมื่อหลายสิบปีท่ีแล้ว แสงสีเหลืองสลัวของไฟโคมที่ติดไว้บน ผนังส่องแสงเรือง ห้องบุผนังไม้สีน้าตาลเข้มทาให้ห้องท้ังห้องดูสลัวลาง ผนังบางส่วนมีภาพวาดเล่าเรื่องแม่น้าและการเดิน ทางค้าขายในสมัยก่อน แต่สิ่งที่สะดุดสายตาผมทันทีท่ีสายตาปรับให้เข้ากับแสงสลัวก็คือกล้องของหลวงอนุสารสุนทร กล้อง ตัวนั้นดึงดูดผมให้เข้าไปมองใกล้ๆ มันวางอยู่บนแท่นครอบด้วยกระจกวางอยู่กลางห้องทางานขรึมขลังอยู่ตรงนั้น มันคงผ่าน มือของหลวงอนุสารอย่างโชคโชน ในครอบกระจกประกอบด้วยกล้องตัวเล็ก ๒ ตัว และกล้องขนาดใหญ่ ๑ตัว พร้อมเลนส์ หนึ่งชุด กล้องทาด้วยไม้ และทองเหลืองประกอบกับได้เห็นฟิล์มกระจกสมัยรัชการที่๕ ของหลวงอนุสารสุนทรดังจะเห็นจาก หนังสือเล่มนี้ ทาให้เหมือนกับได้น่ังไทม์แมชชีนย้อนเวลากลับไปในสยามเม่ือร้อยกว่าปีที่แล้ว
แรกเร่ิมเดิมทีที่มีกล้องถ่ายภาพเข้ามาในราชอาณาจักรสยามนั้นอยู่ในรัชสมัยสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๓ เดือนตุลาคม ๒๓๘๘ หลังการประกาศความสาเร็จในการประดิษฐ์กล้องถ่ายภาพแบบดาแกร์ต โดยราชบัณฑิตยสถานแห่ง ฝร่ังเศส ที่กรุงปารีส ๖ปี (๑๙ สิงหาคม ๒๓๘๓) พระสังฆราชฌอง–บัปตีสท์ ปาเลอกัวซ์(Jean–Baptist Pallegoix) ได้ สงั่ ซอื้ กลอ้ งแบบดาแกร์ และอปุ กรณถ์ า่ ยภาพเขา้ มาในสยามจากปารสี ครงั้ นนั้ นา เขา้ มาโดยบาทหลวงฌอง – บปั ตสี ท์ หลยุ ส์ ลาร์โนดี (Jean–Baptiste François Louis Larnaudie) ผู้เคยเห็นการสาธิตการถ่ายภาพแบบดาแกร์ที่กรุงปารีส และท่าน บาทหลวงลารโ์นดีผ้นูเี้ป็นผสู้อนทา่นสังฆราชปาเลอกวัซ์ถ่ายภาพอกีทหีนงึ่ตามบนัทึกของท่านสงัฆราชชา่งถา่ยภาพคนแรก คือบาทหลวงลาร์โนดี ผู้มีความรู้ด้านช่าง เป็นนักเคมี และเป็นวิศวกรก่อสร้างด้วย กระนั้นการถ่ายภาพในสยามไม่ได้รับการ เผยแพร่มากเท่าที่ควรกระท่ังล่วงเข้ารัชสมัยของสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี๔
ในรัชสมัยรัชกาลที่ ๔ (ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ.๒๓๙๔–๒๔๑๑) ท่านเป็นองค์สนับสนุนการถ่ายภาพ และเป็นแบบ ถ่ายภาพเป็นพระองค์แรกๆ ดังจะเห็นได้จากหลักฐานภาพถ่ายของพระองค์จากพิพิธภัณฑ์ต่างๆ ที่ในสมัยน้ันพระองค์ทรง ถวายภาพถ่ายของพระองค์แด่พระนางเจ้าวิคทอเรีย, สมเด็จพระสัตะปาปาปิอุสท่ี ๙, พระเจ้านโปเลียนที่ ๓, และแก่ผู้นา ประเทศอื่นๆ เป็นที่ระลึก ท้ังยังสนับสนุนช่างภาพชาวสยาม และชาวต่างชาติ ในการบันทึกภาพเจ้านายหลายพระองค์ และ เหตกุ ารณส์ า คญั ตา่ งๆ ของราชสา นกั ดว้ ย ดงั ตวั อยา่ งผลงานภาพถา่ ยของ JohnThompson (พ.ศ.๒๓๘๐–๒๔๖๔) ชา่ งภาพ นักเดินทางชาวอังกฤษ และช่างภาพชาวไทย ขุนสุนทรสาทิศลักษณ์หรือหลวงอัคนีนฤมิตร (จิตร จิตราคนี, ฟรานซิสจิตร, ๒๓๗๓–๒๔๓๔) ช่างภาพหลวงในรัชกาลท่ี๔–๕ และเป็นช่างถ่ายภาพอาชีพชาวสยามคนแรก ผลงานของท่านมีคุณค่าทาง ประวัติศาสตร์อย่างมาก ท่านได้เรียนรู้ฝึกฝนการถ่ายภาพกับบาทหลวงลาร์โนดี
การถา่ ยภาพในรชั สมยั ของสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลท๕่ี (ครองราชยร์ ะหวา่ ง พ.ศ. ๒๔๑๑ – ๒๔๕๓) นน้ั แพร่หลายอย่างมาก ทั้งยังสนใจการถ่ายภาพด้วยพระองค์เองในการเสด็จประพาสยุโรป และที่อ่ืน ๆ พระองค์ยังส่งเสริมให้
289 20-11-2017