Page 295 - Luang Anusarn Sunthornkit
P. 295
แบบ หากไม่มีต้องรอตัวแบบเดินมา ช่างภาพต้องกาหนดระยะชัดรอไว้เช่นหัวสะพาน ก้อนหินก้อนหนึ่งบนพ้ืน เม่ือตัวแบบ มาในระยะชัดที่รอไว้จึงกดชัตเตอร์บันทึกภาพ แต่ก่อนจะถึงเวลานั้น ช่างภาพและผู้ช่วยต้องเตรียมกระจกเปียกไว้ให้เพียงพอ ต่อการถ่ายภาพก่อน การเตรียมกระจกน้ันค่อนข้างละเอียดและปราณีตเพราะหากกระจกมีรอย หรือมีฝุ่นผงอาจทาให้เพลท กระจกมีตาหนิได้ ตามขั้นตอนดังนี้
๑. ทาความสะอาดแผ่นกระจกไม่ให้มีฝุ่นเกาะ เพราะฝุ่นจะทาให้เกิดจุดดาบนภาพ จากนั้นเคลือบด้วย สารละลายCollodion หรือ เซลลูโลสไนเตรท ( Cellulose Nitrate ) ซ่ึงมีส่วนประกอบจาพวกเกลืออยู่ด้วย สารละลายตัว น้ีทาหน้าที่เป็นตัวเคลือบกระจกเพ่ือที่จะดูดซับน้ายาไวแสงอีกที สิ่งท่ีต้องระมัดระวังคือการเคลือบ Collodion น้ีต้องใช้เวลา ให้พอเหมาะ หากใช้เวลาน้อยจะมีผลต่อคุณภาพของแผ่นฟิล์มกระจก ขั้นตอนนี้ทาในขณะมีแสงได้
๒. กระบวนการน้ีต้องทาในห้องมืด โดยแช่แผ่นกระจกเคลือบสาร Collodion ในสารละลายซิลเวอร์ไนเตรทซึ่งเตรียมไว้ ในถังแช่ประมาณ ๓–๕ นาที ซ่ึงสารซิลเวอร์ไนเตรทนี้เป็นสารไวแสงทาหน้าท่ีดูดซับแสงเพ่ือเก็บภาพไว้บนแผ่นกระจก แล้ว เก็บแผ่นกระจกไวแสงนี้ไว้ในที่เก็บฟีล์ม Film Holder เพ่ือเตรียมบันทึกภาพ
๓. แผน่ กระจกไวแสงนตี้ อ้ งใชข้ ณะทมี่ นั ยงั หมาดๆ อยตู่ ามชอื่ Wet Plate เพราะเมอ่ื สารเคลอื บบนกระจกแหง้ จะมผี ลตอ่ ความไวแสงของสารซลิ เวอรไ์ นเตรท ฉะนนั้ เมอื่ เตรยี มเสรจ็ แลว้ ตอ้ งรบี ใช้ เมอื่ ทา กระจกเปยี กเสรจ็ แลว้ จะใสไ่ วใ้ นทเี่ กบ็ กระจก ไวแสง (Film Holder) เพ่ือกันแสงเข้าขณะนากระจกไวแสงออกมาจากกระโจม
เมื่อวางกล้องและกาหนดระยะชัดเสร็จ เตรียมกระจกไวแสงเรียบร้อย กาหนดระยะชัดอีกคร้ัง แล้ววัดแสงเพื่อกาหนด เวลาในการเปิดเลนส์รับแสง ในสมัยน้ันยังไม่มีเคร่ืองวัดแสงช่างภาพต้องอาศัยความชานาญในการคาดเดาความสว่างและ ความเข้มของแสง รูรับแสงของเลนส์มีขนาดเล็กจึงเปิดรับแสงนาน จากนั้นช่างภาพจะบรรจุกระจกไวแสงเข้าด้านหลังกล้อง และรอเวลาที่เหตุการณ์หน่ึงๆ ที่ช่างภาพจินตนาการ และคาดการณ์ว่าจะเกิดข้ึนในมุมท่ีกาหนดไว้
เมอื่ มเี หตกุ ารณท์ นี่ า่ สนใจเกดิ ขนึ้ ตรงตา แหนง่ มมุ กลอ้ งทเี่ ตรยี มไวช้ า่ งภาพจะเปดิ หนา้ กลอ้ ง (กดชตั เตอรใ์ นยคุ หลงั ทเี่ ลนส์ พัฒนาต่อมาจนมีระบบสปีดชัตเตอร์)บันทึกภาพที่เขามองด้วยตาเปล่าแล้วปิดหน้ากล้องในเวลาท่ีเหมาะสม แล้วนากระจก ไวแสงท่ีบันทึกแสงแล้วออกเปล่ียนแผ่นกระจกไวแสงแผ่นใหม่เข้าไป แล้วนา แผ่นกระจกไวแสงไปผ่านกระบวนการสร้างภาพ ซ่ึงต้องทาในห้องมืดหรือกระโจมที่เตรียมไว้ ตามขั้นตอนดังน้ี นากระจกไวแสงไปล้างเพื่อสร้างภาพด้วยน้ายาแกลลิกแอซิด ( Pyrogallic Acid ) หรือเฟอรัสซัลเฟด ( Ferrous Sulphate )และล้างน้ายาโพแตสเซียม ไซยานายด์ (Potassium Cyanide) หรอื โซเดยี ไทโอซลั เฟด (Sodium Thiosulfate)เพอื่ คงสภาพ ขนั้ สดุ ทา้ ยคอื การทา ใหแ้ หง้ โดยการองั เปลวไฟออ่ น ๆ แล้วฉาบซ้าด้วยน้ายารักษา (varnish) ซ่ึงเป็นสารประกอบของเลซิน แอลอกฮอล์ และน้ามันลาร์เวนเดอร์ (Sandarac Alcohol Lavender Oil) เพื่อป้องกันการขีดข่วนและเก็บไว้ได้นาน เม่ือได้เพลทกระจกแล้วจึงนาไปพิมพ์ภาพลงบนกระดาษ ในห้องมืด
จะสังเกตุว่ากระบวนการถ่ายภาพน้ันช่างภาพต้องมีความสามารถและความชานาญในศาสตร์หลายแขนง รวมทั้งศิลปะ
291 20-11-2017