Page 294 - Luang Anusarn Sunthornkit
P. 294

 20-11-2017
พระโอรสและพระธดิ าทงั้ ฝา่ ยในไดม้ โี อกาสถา่ ยภาพซงึ่ เปน็ กจิ กรรมใหมท่ ไี่ ดร้ บั ความนยิ มอยา่ งมาก ดงั มกี ารจดั การประชนั รปู ในพระนครเปน็ ครงั้ แรก พ.ศ. ๒๔๔๘ ซงึ่ มที งั้ ชา่ งภาพชาวสยามและชาวตา่ งประเทศสง่ ประกวดกนั มากมาย ความเอาจรงิ เอา จังของพระองค์นั้นมีมากถึงขนาดสร้างสตูดิโอถ่ายภาพในพระราชวัง และทรงเข้าห้องมืดเพื่อทากระบวนการสร้างภาพ และ พมิ พภ์ าพดว้ ยพระองคเ์ อง อกี ทงั้ พระองคม์ คี วามเชยี่ วชาญชา นาญการใชถ้ า่ ยภาพและกลไกของกลอ้ งอยา่ งมาก ดงั เหน็ ไดจ้ าก จดหมายพระราชทานคา แนะนา การถา่ ยภาพใหแ้ กพ่ ระยาสขุ มุ นยั วนิ ติ สมหุ เทศาภบิ าล สา เรจ็ ราชการมณฑลนครศรธี รรมราช เมอื่ พ.ศ. ๒๔๔๙ ยคุ สมยั รชั กาลที่ ๕ถอื ไดว้ า่ เปน็ ยคุ รงุ่ เรอื งของการถา่ ยภาพเลยทเี ดยี ว ทงั้ มภี าพถา่ ยทมี่ คี ณุ คา่ ประวตั ศิ าสตร์ เก็บไว้มากมาย
ช่างภาพยุคเริ่มแรกในสยามนั้นมีอยู่หลายท่าน ตามท่ีอาจารย์เอนก นาวิกมูลได้รวบรวมรายชื่อไว้ในประวัติศาสตร์การ ถ่ายรูปยุคแรกของไทย เช่น ฟรานซิสจิตร หรือขุนสุนทรสาทิศลักษณ์ หรือหลวงอัคนีนฤมิตรพระยาเจริญราชไมตรี (จานง อมาตยกุล) กรมหลวงดารงราชานุภาพ ขุนฉายาสาทิศกร (ทองดี จิตราคนี) พระฉายาสาทิศกร (สอาด จินราคนี) โหมด อมาตยกุล (พระยากระสาปน์กิจโกศล) เจี่ยเปงเชียง เจ้าจอมเอิบ (ช่างภาพสตรี) ชาวต่างชาติเช่น T.Hays G.R.Lambert Theod. Schuhmacher Robert Lenz J.Antonio Robert Lenz&Co.การถ่ายภาพได้รับความนิยมแพร่หลายไปในหัวเมือง ต่างจังหวัดเช่นที่สงขลา หลวงวิเศษภักดี (ชม ณ สงขลา)ภายหลังเป็นพระยาวิเชียรคิรี เจ้าเมืองสงขลา ที่เชียงใหม่นายเล่ งอี้ ชุติมา (หลวงอนุสารสุนทร) ผู้ซึ่งเปิดร้านถ่ายรูปแห่งแรกของเชียงใหม่ และมิสเตอร์โมริโนสุเกะ ทานากา (Morinosuke Tananka) ชาวญี่ปุ่น
หากผมนงั่ ไทมแ์ มชชนี กลบั ไปสมยั การถา่ ยภาพยคุ เรมิ่ แรกในรชั สมยั พระพทุ ธเจา้ หลวง ไดจ้ รงิ เหมอื นนวนยิ ายเรอื่ งทวภิ พ ของทมยันตี เมื่อผมต้องออกไปถ่ายภาพผมต้องทาอย่างไร
สมัยรัชการที่๕ เทคโนโลยีการถ่ายภาพในสยามนั้นกระบวนการบันทึกภาพแบบกระจกเปียก Wet Plate กาลังเป็นของ ใหมแ่ ละเปน็ ทนี่ ยิ ม อปุ กรณท์ ผี่ มตอ้ งเตรยี มคอื กลอ้ งไม้ เลนสห์ นงึ่ ชดุ กระโจม(เพอื่ ใชเ้ ปน็ หอ้ งมดื สา หรบั เตรยี มนา้ ยาไวแสง) สารเคมีบางชนิด กระจกแผ่นตัดตามขนาดกล้อง ขาตั้งกล้อง (เป็นสิ่งจา เป็นเพราะกล้องมีน้าหนักพอสมควร และการถ่าย ภาพต้องฉายแสงนานเป็นนาที) หากเป็นการถ่ายภาพพอร์ทเทรท (ภาพบุคคล) นอกสถานที่ จะต้องมีผ้าเพื่อทาฉากหลัง อาจมีแบบสีขาวธรรมดา หรือแบบที่วาดภาพทิวทัศน์ ผู้ช่วยช่างภาพอย่างน้อยหนึ่งคน
ข้อควรระวังในกการถ่ายภาพด้วยเทคนิคกระจกเปียกนี้ต้องทาในขณะที่กระจกเคลือบสารเคมีไวแสงยังเปียกหรือหมาด อยเู่ พอื่ ใหไ้ ดค้ ณุ ภาพทดี่ ี และใชเ้ วลาเปดิ เลนสบ์ นั ทกึ แสงนอ้ ย เพราะเมอื่ สารเคมแี หง้ คณุ ภาพจะดอ้ ยลงและใชเ้ วลาบนั ทกึ แสง มาก หรือบางครั้งเสื่อมสภาพ
เมอื่ ไปถงึ สถานทที่ ตี่ อ้ งการบนั ทกึ ภาพ กอ่ นอนื่ ผมตอ้ งหามมุ ทตี่ อ้ งการถา่ ยภาพ อาจจะเปน็ เชงิ สะพาน รมิ ถนนเจรญิ กรงุ หรือในตลาด เมื่อหามุมเหมาะๆ ได้แล้วสิ่งแรกที่ต้องทาคือกางขาตั้งกล้อง เพื่อวางกล้องแล้วเลือกขนาดเลนส์ที่จะใช้ เมื่อ ได้ระยะสูงต่าใกล้ไกลตามที่ต้องการแล้ว ช่างภาพจะคลุมโปงด้วยผ้าดาเพื่อหาระยะโฟกัส ถ้ามีตัวแบบก็กาหนดระยะชัดที่ตัว




























































































   292   293   294   295   296