Page 34 - เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น
P. 34

27



                         6.  รอบ ๆ ขอบสระน้ํา ปลูกพืชผักไดตามสภาพ เชน กลวย, ออย, มะรุม, แค สวนของสระดานใน

                             ควรปลูกหญาแฝกกันการพังทลายของดินลงสระ
                  หมายเหตุ  การออกแบบวางผัง ควรคํานึงถึงสภาพพื้นที่ของแตละรายตามสภาพจริง


                         เศรษฐกิจพอเพียงกับอาชีพธุรกิจ

                         ธุรกิจทุกประเภทไมวาจะเปนธุรกิจประเภทการผลิต การคา หรือบริการ ลวนแตมีความสําคัญ

                  อยางยิ่งตอระบบเศรษฐกิจและสังคม เนื่องจากผลประกอบการทางธุรกิจมีอิทธิพลตอมูลคาทางเศรษฐกิจ

                  และความเจริญเติบโตของประเทศ การดําเนินธุรกิจในประเทศไทยที่ผานมามีเปาหมายการเจริญเติบโตทาง

                  เศรษฐกิจดวยระบบทุนนิยมที่กระตุนใหคนบริโภคตลอดเวลาและมากยิ่งขึ้น เพื่อผลตอบแทนสูงสุด โดยไม

                  คํานึงถึงวิธีการอันชอบธรรมการขยายตัวของผลผลิตมุงการพึ่งพาอุปสงค เทคโนโลยี และทุนจาก

                  ตางประเทศ  ทําใหความสามารถในการพึ่งพาตนเองต่ําลง  องคกรธุรกิจถูกครอบงําความคิดจากกระแส

                  โลกาภิวัตนดานลบ สงผลกระทบตอคานิยมและทัศนคติที่เนนความร่ํารวยและความสะดวกสบายเปน

                  เปาหมาย เห็นประโยชนสวนตนมากกวาสวนรวม และขาดจิตสํานึกตอสาธารณะ องคกรธุรกิจตองเผชิญกับ

                  ความเสี่ยงภายใตเงื่อนไขในระบบเศรษฐกิจโลกที่มีความสลับซับซอนและมีการเปลี่ยนแปลงรอบดาน

                         ดังนั้น การปรับตัวตอกระแสโลกาภิวัตน  จึงจําเปนตองอาศัยการเรียนรูและการยืนหยัดอยูบน

                  พื้นฐานของการพึ่งพาตนเองตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อสรางศักยภาพการดําเนินธุรกิจ

                  เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน และสรางภูมิคุมกันตอผลกระทบจากสภาพแวดลอมภายนอก ในบริบทของ

                  ความเชื่อมั่นตอการนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชในองคกรจากประเด็นตางๆ ไดแก เศรษฐกิจ

                  พอเพียงใชไดผลดีเฉพาะในภาคเกษตร เศรษฐกิจพอเพียงคือการประหยัดและไมเปนหนี้

                  การแสวงหากําไรขัดกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไมเหมาะสมกับธุรกิจ

                  ในยุคโลกาภิวัตน เมื่อพิจารณาจากแนวคิด หลักการ และองคประกอบตางๆ ของปรัชญาของเศรษฐกิจ

                  พอเพียง สามารถอธิบายในประเด็นดังกลาว ดังนี้

                         เนื่องจากปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไดนําไปประยุกตใชกับภาคเกษตรในระยะแรก เพราะมี

                  ความขัดสนสูงกวาภาคอื่นๆ ทําใหเกิดความเขาใจผิดวา เศรษฐกิจพอเพียงใชไดผลดีเฉพาะภาคเกษตร

                  เทานั้น ซึ่ง ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล (2549: 286) ไดอธิบายวา “เศรษฐกิจพอเพียงมิไดจํากัดเฉพาะของ

                  เกษตรกรหรือชาวไรชาวนาเพียงเทานั้น แตเปนเศรษฐกิจของทุกคนทุกอาชีพ ทั้งที่อยูในเมืองและอยูใน

                  ชนบท เชน ผูที่เปนเจาของโรงงานอุตสาหกรรมและบริษัทในระบบเศรษฐกิจพอเพียง ถาจะตองขยาย

                  กิจการเพราะความเจริญเติบโตของเนื้องาน โดยอาศัยการขยายตัวอยางคอยเปนคอยไป หรือหากจะกูยืมก็

                  กระทําตามความเหมาะสม ไมใชกูมาลงทุนจนเกินตัวจนไมเหลือที่มั่นใหยืนอยูได ตองรูจักใชจาย ไม

                  ฟุมเฟอยเกินตัว” อยางไรก็ตาม เมื่อพิจารณาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทั้งในดานองคประกอบ
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39