Page 139 - (Microsoft Word - 1.\303\322\302\247\322\271\273\303\320\250\323\273\32563 ok17.31\271.)
P. 139

รายงานประจำป  2563 (Annual Report)  | 132


                       เงินทุนหมุนเวียนต องอาศัยแหล งเงินกู จากภายนอกเพื่อดำเนินธุรกิจให บริการสมาชิก ธุรกิจหลักของ

                       สหกรณ /กลุ มเกษตรกรขนาดเล็กเน นธุรกิจการให สินเชื่อซึ่งยังไม ครอบคลุมตามความต องการของ
                       สมาชิก

                              1. มาตรฐานสหกรณ1/กลุ มเกษตรกร
                                  กระบวนการเข าแนะนำส งเสริมของกลุ มส งเสริมสหกรณ   ได แก   การเข าร วมประชุม

                       คณะกรรมการสหกรณ /กลุ มเกษตรกรเพื่อร วมกันวิเคราะห ข อมูลผลการจัดมาตรฐานสหกรณ /กลุ ม

                       เกษตรกรในปRที่ผ านมา  โดยการนำเกณฑ มาตรฐานสหกรณ จำนวน 7 ข อ และเกณฑ มาตรฐานกลุ ม
                       เกษตรกร  จำนวน 5 ข อ เพื่อวางแผนและกำกับติดตามเกณฑ มาตรฐานเป@นรายข อให สหกรณ /กลุ ม
                       เกษตรกรสามารถรักษามาตรฐานหรือมีกระบวนการภายในที่ดีขึ้น และผลักดันให สหกรณ /กลุ ม

                       เกษตรกรที่ไม ผ านเกณฑ มาตรฐานให สามารถผ านเกณฑ มาตรฐานได
                                  ผลจากการเข าแนะนำส งเสริม   สหกรณ /กลุ มเกษตรกรที่นำมาจัดมาตรฐานใน
                       ปRงบประมาณ พ.ศ. 2563
                                  1.1 สหกรณ  จำนวน  8  แห ง  สามารถผ านเกณฑ มาตรฐานหรือผลักดันให ผ านเกณฑ

                                     ี
                                          ี
                                  ั
                                                                                           ู
                       มาตรฐานระดบดเลิศ/ดมากได   จำนวน 3 แห ง  ได แก  สหกรณ การเกษตรสตรีท าตม จำกัด  สหกรณ
                       โคเนื้อหนองเมธี จำกัด  สหกรณ กองทุนสวนยางท าตูม จำกัด  ในส วนของสหกรณ ที่ไม ผ านเกณฑ
                       มาตรฐานเนื่องจากสหกรณ ประสบป>ญหาการขาดทุนในรอบปRบัญชีที่ผ านมามีผลการดำเนินงาน
                       ขาดทุนลดลง  จำนวน 1 แห ง คือ สกป.ทุ งกุลาท าตูมสอง จำกัด และสหกรณ ที่ผลการดำเนินงานป R
                       ก อนขาดทุนแล วดำเนินธุรกิจให กับมามีกำไร จำนวน 1 แห ง  คอ สหกรณ การเกษตรท าตูม จำกด
                                                                                                        ั
                                                                             ื
                       และสหกรณ ที่ไม ผ านเกณฑ มาตรฐานก็มีกระบวนการภายในที่ดีขึ้น จำนวน  3 แห ง
                                 1.2 กลุ มเกษตรกร  จำนวน  3 แห ง  สามารถรักษาและผ านเกณฑ มาตรฐาน  จำนวน
                       2  แห ง  คือ  กลุ มเกษตรกรทำนาเมืองแก และกลุ มเกษตรกรทำนาอินทรีย กุดมะโน  สำหรับที่เหลือ

                       1 แห ง ไม สามารถผลักดันให ผ านเกณฑ มาตรฐานได เนื่องจากกลุ มหยุดดำเนินธุรกิจและอยู ระหว าง
                       ฟaxนฟูกลุ มเกษตรกร

                                                      ิ
                              2. การสร&างภูมิคุ&มทางการเงน/การเพิ่มทุนภายในของสหกรณ1/กลุ มเกษตรกร
                                  กระบวนการเข าแนะนำส งเสริมของกลุ มส งเสริมสหกรณ  ได แก  การเข าร วมประชุม

                       คณะกรรมการให คำแนะนำและสร างความเข าใจในการระดมทุน  ประโยชน ของการระดมทุนภายใน

                                                                          ุ
                       โดยเน นให สมาชิก ทุกคนมีส วนร วมในการวางแผนการระดมทนภายในและตระหนักถึงบทบาทหน าท   ี่
                                                                                                        ุ
                                                                                      ี
                       ของสมาชิกที่มีต อสหกรณ /กลุ มเกษตรกร ประชาสัมพันธ เชิญชวนให สมาชิกมส วนร วมในการระดมทน
                       ภายใน อาทิเช น ทุนเรือนหุ น  เงินรับฝากออมทรัพย   และการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไป
                       ปรับใช ในการดำเนินงานของสหกรณ และขยายผลไปสู สมาชิก
                                  ผลจากการเข าแนะนำส งเสริม  สหกรณ /กลุ มเกษตรกร  จำนวน 13 แห ง  มีทุนภายใน
                       เพิ่มขึ้น จำนวน 12 แห ง  เป@นเงิน 57,366,573.29 บาท  แยกเป@นทุนเรือนหุ น
                       25,010,625.00 บาท  ทุนสำรอง  5,258,399.95 บาท  และเงินรับฝาก  27,097,548.34
                       บาท  ส งผลให สหกรณ /กลุ มเกษตรกรสามารถให บริการสมาชิกที่มีความเดือดร อนด านเงินทุน  ด าน

                       ป>จจัยการผลิต และเป@นจุดศูนย กลางในการรวบรวมข าวเปลือกจากสมาชิกและเกษตรกรทั่วไป  โดย
                                                                                                        ิ่

                                                                            ิ่
                       สมาชิกมีส วนร วมในการดำเนินธุรกิจกับสหกรณ/กลุ มเกษตรกรเพมขึ้น อนึ่ง สหกรณ ทไมสามารถเพม

                                                                                             ี่
   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144