Page 135 - (Microsoft Word - 1.\303\322\302\247\322\271\273\303\320\250\323\273\32563 ok17.31\271.)
P. 135

รายงานประจำป  2563 (Annual Report)  | 128


                              5. สหกรณ /กลุ มเกษตรกรขนาดเล็ก/สหกรณ ที่ตั้งใหม   ขาดเงินทุนในการบริหารงานและ

                       ยังต องพึ่งพาแหล งเงินทุนจากภายนอก

                          ข&อเสนอแนะ/แนวทางแก&ไขปZญหา

                              1. ควรจัดอบรมเพื่อสร างองค ความรู ด านการสหกรณ ให แก คณะกรรมการอย างต อเนื่อง
                                                                                                        ั
                       เนื่องจากสหกรณ มีการเปลี่ยนแปลงคณะกรรมการเป@นประจำทุกปR  เช น  กฎหมายสหกรณ   ข อบังคบ
                       โดยเฉพาะอำนาจกระทำการของสหกรณ   ระเบียบต างๆ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข องในการ

                       ดำเนินงานของสหกรณ
                                                                              ื่
                              2. สหกรณ /กลุ มเกษตรกรจัดให มีการประชุมกลุ มสมาชิกเพอให ความรู เกี่ยวกับอุดมการณ
                       หลักการ และวิธีการสหกรณ  รวมทั้งบทบาทหน าที่ของสมาชิกอย างตอเนื่อง

                              3. ควรให ความรู ด านการดำเนินธุรกิจ การวิเคราะห จุดคุ มทุนในการดำเนินกิจการต างๆ แก

                       สหกรณ /กลุ มเกษตรกร
                              4. แนะนำให สหกรณ /กลุ มเกษตรกร เผยแพร ความรู แก สมาชิกให เข าใจในอุดมการณ ของ
                       สหกรณ  ให ทุกคนมีส วนร วมในการช วยเหลือตนเอง และช วยเหลือซึ่งกันและกัน โดยการระดมทน
                                                                                                        ุ
                                                                                       ี
                                                                                              ื
                       ภายในของสหกรณ เพื่อให สหกรณ มีเงินทุนหมุนเวียนในการให บริการสมาชิกที่มความเดอดร อน
                          สหกรณ1/กลุ มเกษตรกรที่สะท&อนผลสำเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สสจ./สสพ.
                       ในป งบประมาณ พ.ศ. 2563


                         สหกรณ1โคเนื้อสุรินทร1วากิวยางสว าง จำกัด

                              1. ส งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ ในสหกรณ
                                   สหกรณ โคเนื้อสุรินทร วากิวยางสว าง จำกัด ได รับการคัดเลือกเป@นสหกรณ แปลงใหญ

                                               R

                       ระดับจังหวัดสุรินทร  ประจำปงบประมาณ  พ.ศ. 2563 ตามโครงการประกวดแปลงใหญดีเด นระดับ
                       จังหวัด
                                     สหกรณ โคเนื้อสุรินทร วากิวยางสว าง  จำกัด  ได รับรางวัลชนะเลิศในการประกวดแปลง
                       ใหญ ดีเด นระดับจังหวัด ประจำปR 2563  การส งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ เป@นหนึ่งในนโยบาย
                       ด านปฏิรูปภาคการเกษตรที่สำคัญของรัฐบาลและกระทรวงเกษตรและสหกรณ  ภายใต วัตถุประสงค เพอ
                                                                                                           ื่
                       สนับสนุนให เกษตรกร รายย อยมีการรวมกลุ มและรวมพื้นที่การผลิตเป@นแปลงขนาดใหญ เพื่อช วยให
                       เกษตรกรเข าถึงข อมูลแหล งทุน ทรัพยากรและการตลาด โดยมีผู จัดการพื้นที่เป@นผู บริหารจัดการตั้งแต
                                                                                            ี
                       การวางแผนการผลิตตลอดห วงโซอุปทาน การสร างกระบวนการเรียนรู ให เกษตรกรมความสามารถในการ

                       จัดการการผลิตสินค าเกษตรไปจนถึงการตลาด  ซึ่งสหกรณ ฯ เป@นหนึ่งในสหกรณ ที่เล็งเห็นความสำคญ
                                                                                                           ั
                       การส งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ  จึงได เริ่มจัดตั้งแปลงใหญ ข าวในสหกรณ โคเนื้อสุรินทร วากิวยาง
                       สว าง จำกัด ขึ้นในปR 2561 มีเกษตรกรรวมตัวกันผลิตจำนวน 98 ราย ในพื้นที่เปGาหมาย จำนวน
                                                                                                           @
                       1,250 ไร  สามารถเป@นต นแบบด านการลดต นทุนการผลิตข าวต อไร  จากเดิม 4,149 บาท/ไร  เปน
                       3,133 บาท/ไร  ลดลง 1,016 บาท/ไร  ขณะที่ผลผลิตต อไร เพิ่มขึ้นจาก 350 กก./ไร   เป@น 420 กก./

                       ไร  พร อมกันนี้ยังสามารถพัฒนาการผลิตสู มาตรฐาน GAP ข าว จำนวน 65 ราย พื้นที่ 444 ไร  และ
                       ยกระดับสู มาตรฐานเกษตรอินทรีย  จำนวน 25 ราย พื้นที่ 212 ไร  ซึ่งเกิดจากการส งเสริมให สมาชิก
                       ได นำนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช ในกระบวนการผลิตตั้งแตเริ่มต น  เป@นส วนหนึ่งที่มีความสำคัญที่จะ
   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140