Page 27 - วรรณกรรมมัธยม
P. 27

(พระครูฌานวิรัต) ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง  วัดพระเชตุพน (วัดโพธิ์) ท่าเตียน เจ้าของรายการ
                  ธรรมสุขใจได้รับใบประกาศตั้งวัด เมื่อวันที่ ๒๒ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๓๐ ชื่อว่า “วัดซอยสามัคคี”

                  ได้แต่งตั้งให้พระครูใบฎีกาสมนึก  เตชธมฺโม เป็นเจ้าอาวาส (พระครูพิศาลธรรมานุวัตร)  จนถึงปัจจุบัน
                  ในปีพุทธศักราช  ๒๕๔๙ ได้รับแต่งตั้ง ให้เป็นส านักปฏิบัติธรรมประจ าจังหวัดปทุมธานี แห่งที่ ๘ ได้

                  ด าเนินการสอนพระปริยัติธรรม ชั้นตรี, โท, เอก จัดให้ครูพระไปสอนที่โรงเรียนต่างๆ ทั้งยังให้วัด
                  ซอยสามัคคี  เป็นสนามสอบพระปริยัติธรรมสนามหลวง ประจ าต าบลคูคต อ าเภอล าลูกกา จังหวัดปทุมธานี

                  อีกส่วนหนึ่งด้วย  ส่วนอีกวัดหนึ่งที่ไม่ได้อยู่ในเขตเทศบาลนครรังสิต  แต่นับว่ามีความส าคัญอย่างยิ่ง คือ วัด
                  เขียนเขต พระอารามหลวง ครั้งหนึ่งท่านอาจารย์วีรวัฒน์ วงศ์คุปไทย ศิลปินดีเด่นสาขาวรรณศิลป์ (สารคดี
                  พื้นบ้าน) ปีพุทธศักราช 2543 ท่านเป็นปราชญ์ชาวบ้านมีความรู้ด้านประวัติศาสตร์โบราณคดี ประเพณีและ

                  วัฒนธรรมเมืองปทุม และเคยแต่งหนังสือเรียนประวัติศาสตร์เมืองปทุมธานีที่ไว้ใช้ในสถานศึกษาท่านเคย
                  มาให้ความรู้และเล่าให้พวกเราฟังว่าวัดเขียนเขต เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญตั้งอยู่ริมคลองรังสิต

                  ประยูรศักดิ์ บ้านคลองสาม ต าบลบึงยี่โถ  อ าเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี เป็นวัดเก่าแก่ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2439
                  สมัยรัชกาลที่ 1 โดยหม่อมเขียน ในพระบรมวงศ์เธอพระองศ์เจ้าสาย สนิทวงศ์ เป็นผู้มอบที่ดินให้สร้างวัด

                  มีหลวงพ่อด า เป็นเจ้าอาวาส รูปแรก หม่อมเขียนพร้อมด้วยเครือญาติ และประชาชนในท้องถิ่นช่วยกัน
                  ก่อสร้างและปฏิสังขรณ์เพื่อเป็นศาสนสมบัติในพระพุทธศาสนามีนามว่า “วัดสาลีเขตตาราม” และภายหลัง

                  เปลี่ยนชื่อใหม่เป็น  “วัดเขียนเขต”  โดยเห็นว่าหม่อมเขียน เป็นผู้ริเริ่มสร้างวัดโดยบริจาคทรัพย์ส่วนตัวกับ
                  ที่ดินของตน ความหมายคือ “อารามอันเป็นเนื้อนาบุญของหม่อมเขียน” วัดเขียนเขตเป็น  พระอารามหลวง
                  เป็นวัดที่มีความส าคัญทางประวัติศาสตร์ของอ าเภอธัญบุรีตั้งแต่สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ กล่าวคือ เป็น

                  สถานที่ประกอบพิธี   “พิพัฒน์สัตยา”   โดยมีเจ้าเมืองธัญบุรีได้น าข้าราชการของอ าเภอรังสิตอ าเภอ
                  คลองหลวง อ าเภอหนองเสือ  และอ าเภอล าลูกกา  ดื่มน้ าสาบานที่อุโบสถ โดยมีพระครูธัญญาเขมากร

                  (หลวงปู่ช้าง)  เจ้าอาวาสขณะนั้นเป็นประธาน  ซึ่งปัจจุบันเหรียญหลวงปู่ช้างกลายเป็นเหรียญเกจิอาจารย์
                  ชื่อดังและเป็นที่เคารพนับถือของชาวปทุมธานี  ศาสนสถานและสิ่งปลูกสร้างที่ส าคัญภายในวัดที่ได้รับการ

                  ดูแลจากท่านเจ้าอาวาสปัจจุบันคือ พระเทพรัตน์สุธี  เจ้าอาวาสปัจจุบัน คือพระอุโบสถหลังเก่า พระอุโบสถ
                  หลังใหม่ ศาลาลอย  หอระฆังเก่า  หอกลอง  วิหารพระพุทธโสธร วิหารหลวงปู่ช้าง  กุฏิเฉลิมพระเกียรติ์

                  80 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี  ได้พระราชทานให้เชิญพระนามาภิไธย
                  ย่อ ส.ธ.ประดิษฐานที่หน้าบันอุโบสถได้เสด็จทรงทอดผ้าพระกฐินที่วัดเขียนเขต  พร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้า
                  ลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์  ในปีพุทธศักราช 2515  นอกจากนี้วัดเขียนเขตยังเป็นที่ตั้งส านักงาน

                  เจ้าคณะจังหวัดปทุมธานีเปิดสอน และให้การศึกษาพระปริยัติธรรมตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2472  จนปัจจุบัน
                  เนื่องจาก ท่านเป็นพระนักพัฒนาส่งเสริมด้านการศึกษา   ทางธรรมและเรื่องการศึกษาของเด็กนักเรียนใน

                  ท้องถิ่น  ท่านจึงสามารถสร้าง “โรงเรียนวัดเขียนเขต”  ที่เปิดสอนการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาล พัฒนาจน
                  ปัจจุบันมีถึงระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 ท่านส่งเสริมพุทธศาสนาให้กับโรงเรียน หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน
                  และเป็นผู้น า  ผู้ยกระดับจิตใจของชาวบ้านในจังหวัดปทุมธานี  ปัจจุบันได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็น

                  พระราชาคณะชั้นราช  (เจ้าคณะจังหวัดปทุมธานีมหานิกาย)  และเจ้าอาวาสวัดเขียนเขต (พระอาราม
                  หลวง)  ส าเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอก สาขา  พุทธศาสนาดุษฎีบัณฑิตที่มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์

                  ราชวิทยาลัย ต าแหน่งที่ท่านได้รับขณะนี้ คือ พระราชาคณะชั้นราช ท่านเคยประทานสัมภาษณ์ถึงแนวคิด






                                                             27
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32