Page 73 - Visionary Arts 2019
P. 73
กำรขยำยตัวของดนตรีที่เป็นเอกลักษณ์เฉพำะตน เป็นสิ่งที่บรรพ
บุรุษแต่ละท้องถิ่นได้สร้ำงสรรค์สั่งสม และมีกำรเคลื่อนย้ำยถ่ำยทอดระหว่ำงกัน
และกันมำตลอดเวลำ ในฐำนะเครือญำติทำงวัฒนธรรม หรือ ผลกระทบทำง
สงครำม เศรษฐกิจกำรค้ำ ศำสนำ กำรเมืองกำรปกครอง โดยดนตรีสิงคโปร์
ได้รับอิทธิพลจำกหลำยเชื้อชำติ แต่ที่โดดเด่นที่สุดคงจะเป็นดนตรีของจีน ซึ่งสิ่งนี้
ท ำให้เห็นถึงกำรถ่ำยโอนวัฒนธรรมอย่ำงเห็นได้ชัด เหมือนกับวงดนตรีของ
ประเทศไทยที่ผสมผสำนกับวัฒนธรรมทำงดนตรีของหลำยประเทศ อำทิ อินเดีย
มอญ เขมร เป็นต้น โดยกำรถ่ำยโยงประสมประสำนดนตรีเกิดขึ้นตั้งแต่ยังไม่มี
กำรแบ่งอำณำเขตทำงกำรเมืองชัดเจนเหมือนในปัจจุบัน และถึงแม้จะมีเส้นเขต
แดนก็หำใช่ว่ำจะเป็นอุปสรรคในกำรแลกเปลี่ยนทำงศิลปวัฒนธรรมไม่ ดังเช่นทุก
วันนี้ก็ยังคงมีกำรถ่ำยโอนรูปแบบทำงดนตรีกันอยู่อย่ำงไม่รู้ตัว
ถึงแม้สิงคโปร์มีกำรพัฒนำผสมผสำนทำงวัฒนธรรมจำกหลำยเชื้อ
ชำติ แต่แก่นส ำคัญของขนบธรรมเนียมดนตรียังคงอยู่ โดยดนตรีดั้งเดิมที่ชำว
สิงคโปร์ร่วมกันอนุรักษ์ คือ “นำนหยิน (Nanhyin)” ซึ่งเป็นดนตรีเก่ำแก่ของชำว
จีนฮกเกี้ยนที่มำตั้งรกรำกอยู่ในสิงคโปร์ โดยขณะที่ผู้เขียนได้ทัศนศึกษำใน
สิงคโปร์ผู้เขียนได้พบกำรเล่นดนตรีเปิดหมวกโดยใช้ เอ้อหู (Erhu) ที่เป็นเครื่อง
ดนตรีอยู่ในวงนำนหยิน (Nanhyin) โดยอัตลักษณ์ของวงนำนหยิน (Nanhyin)
นั้น คือบทเพลงที่มีท่วงท ำนองที่ช้ำและเนื้อเพลงที่เล่ำถึงควำมล ำบำกและกำร
พลัดพรำก สะท้อนให้เห็นภูมิหลังทำงประวัติศำสตร์เมื่อ 200 ปีก่อนที่ชำวจีน
ฮกเกี้ยน ที่อพยพมำยังสิงคโปร์เพื่อท ำงำน นำนหยิน (Nanhyin) จึงถูกหยิบมำ
บรรเลงเพื่อคลำยควำมคิดถึงบ้ำน นำนหยิน (Nanhyin) ประกอบด้วยเครื่อง
ดนตรีพื้นบ้ำน ได้แก่ ซันเซียน (Sanhsian) พี้ผำ (Pipa) ดิêซุ (Dizi) และเอ้อหู
(Erhu) ปัจจุบันดนตรีนำนหยิน ได้รับกำรยกย่องจำกองค์กำรยูเนสโก
(UNESCO) ให้เป็นมรดกทำงวัฒนธรรมในฐำนะรูปแบบดนตรีที่เก่ำแก่ที่สุดจำก
ทำงตอนใต้ในมณฑลฟูเจียนของจีนที่ยังคงด ำรงอยู่ และได้รับกำรอนุรักษ์โดย
ชำวสิงคโปร์ จึงถือได้ว่ำ นำนหยิน (Nanhyin) เป็นอัตลักษณ์ที่ส ำคัญของ
ประเทศสิงคโปร์
73