Page 14 - โครงการครอบครัวรักการอ่าน
P. 14

2.1  ระดับสติปัญญา  เด็กแตํละคนจะมีความสามารถในการอํานแตกตํางกันไปตามระดับ

               สติปัญญาของตน เชํน เด็กบางคนไมํสามารถจดจ ารายละเอียดของเนื้อเรื่องได๎ บางคนไมํสามารถสรุปเรื่องที่อําน
               ได๎ บางคนไมํเข๎าใจสิ่งที่เป็นนามธรรม และบางคนไมํสามารถแยกแยะความแตกตํางระหวํางข๎อเท็จจริงกับความ
               คิดเห็นได๎ หรือถ๎าท าได๎ก็คงต๎องใช๎เวลามาก ซึ่งสิ่งตํางๆ เหลํานี้    ครูควรจะตรวจสอบเพื่อชํวยเด็กในการพัฒนา
               สมรรถภาพในการอํานและจัดประสบการณ์ให๎เหมาะสมกับระดับสติปัญญาของเด็ก
                                         2.2  ความรู๎ในด๎านค าศัพท์  และโครงสร๎างของภาษาซึ่งจะเป็นประโยชน์ตํอความเข๎าใจ

               การสร๎างความคิดรวบยอด และการสร๎างจินตนาการเกี่ยวกับเรื่องที่อําน
                                        2.3  ภูมิหลังในเรื่องความรู๎และประสบการณ์  จะชํวยในการผสมผสานความคิดเดิมให๎เข๎า
               กับความคิดใหมํ ตลอดจน  การแปลความ ตีความ ขยายความและการประเมินคําของสิ่งที่อําน

                                         2.4  รํางกาย  เด็กที่มีสุขภาพทางกายดีจะมีความสามารถในการเรียน  อํานได๎กวําเด็กที่มี
               สุขภาพไมํดีซึ่งต๎องขาดเรียนบํอย ๆ  ท าให๎การเรียนอํานลําช๎าออกไป  นอกจากนั้นสิ่งที่ครูจะต๎องค านึงถึงก็คือ
               สายตาและการได๎ยิน  เด็กที่มีสายตาผิดปกติ จะรู๎สึกไมํอยากอํานหนังสือและไมํรู๎สึกเพลิดเพลินหรือพอใจกับสิ่งที่
               อําน  สํวนเด็กที่มีความผิดปกติทางการได๎ยิน   จะฟังค าอธิบายของครูไมํได๎ดีเทําที่ควรเพราะจับใจความไมํคํอย

               ได๎  และไมํเข๎าใจความหมายของค าที่ครูให๎อํานซึ่งจะให๎เกิดปัญหาในการอํานตํอไป
                                         2.5  อารมณ์  เป็นองค์ประกอบที่มีความส าคัญตํอการอํานมาก  เพราะการอํานที่ประสบ
               ผลส าเร็จนั้น ผู๎อํานจ าเป็นต๎องมีสมาธิในการอําน ถ๎าเด็กมีความกังวลใจ หรือมีความกลัว  เด็กจะมีความรู๎สึก
               ตํอต๎านอยํางรุนแรง ซึ่งจะขัดขวางสมาธิในการอํานเป็นอยํางมากจนเป็นผลให๎ประสบผลส าเร็จในการอํานน๎อย

               กวําเด็ก ที่มีอารมณ์ดี หรือสุขภาพจิตดี
                                   3.   สภาพแวดล๎อม เด็กที่อยูํในครอบครัวที่อบอุํน สมาชิกในครอบครัวให๎ความส าคัญกับการ
               อําน มีการสํงเสริมการอําน  เด็กก็จะรู๎คุณคําของการอํานและอํานได๎ดี เพราะได๎พบเห็นและมีกิจกรรมการอําน
               เป็นประจ า นอกจากนี้โรงเรียนยังมีสํวนส าคัญในการสํงเสริมการอํานของนักเรียนอยํางสม่ าเสมอ  อันจะท าให๎

               พัฒนาการทางด๎านการอํานดีเป็นไปตามล าดับและตํอเนื่อง

                                 แม๎วําประเทศไทยเราจะมีการรณรงค์เกี่ยวกับการอํานมานานกวํา 30-40  ปี แตํการอํานก็ยัง

               ไมํได๎ฝังรากลึกลงไปในวิถีชีวิตของคนไทย แนํนอนเมื่อรัฐบาลให๎ความส าคัญกับการอํานโดยก าหนดเป็นวาระ
               แหํงชาติ นับเป็นโอกาสอันดีของคนไทยและผู๎เกี่ยวข๎องทั้งหลายทั้งภาครัฐ เอกชน หนํวยงาน สถานศึกษา

               โดยเฉพาะอยํางยิ่งผู๎บริหารและบรรณารักษ์ห๎องสมุดแตํละแหํง จะต๎องน านโยบายสูํการปฏิบัติ ด๎วยการจัดให๎มี
               แผนงาน โครงการ กิจกรรมตํางๆรองรับ ในสํวนรัฐบาลก็มีหน๎าที่ให๎การสนับสนุน สํงเสริม ตลอดจนก ากับ ดูแล

               ติดตามประเมินผล เมื่อทุกภาคสํวนรํวมมือกันอยํางเต็มที่แล๎ว เชื่อวําสังคมไทยในอนาคต (ปี พ.ศ.2552-2561)

               จะเป็นสังคมแหํงการอําน คนไทยได๎รับการพัฒนาความสามารถด๎านการอําน และรู๎หนังสือใกล๎เคียงกับ
               อารยประเทศตํอไป


               การอ่านจับใจความส าคัญและการอ่านคิดวิเคราะห์

                         ความส าคัญของการอ่านจับใจความส าคัญและการอ่านคิดวิเคราะห์
                                  การอํานเป็นทักษะที่จ าเป็นอยํางยิ่งตํอการศึกษาหาความรู๎ และพัฒนาชีวิต ซึ่งนอกจากจะท าให๎
               เกิดความรู๎แล๎วยังกํอให๎เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน และสํงเสริมให๎มีความคิดริเริ่มสร๎างสรรค์ได๎แนวคิดใน
               การด าเนินชีวิต การอํานจึงเป็นหัวใจของการศึกษาทุกระดับ และเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู๎เรื่องตํางๆ





                                                       “เฉลิมราชกุมารี”อ าเภอเมืองปัตตานี | ครอบครัวรักการอ่าน    13
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19