Page 4 - โครงการครอบครัวรักการอ่าน
P. 4
- พัฒนาการบริการให๎ประชาชนได๎เข๎าถึงสื่อสํงเสริมการอํานได๎สะดวก พร๎อมเข๎าสูํสังคมดิจิทัล
- สํงเสริมสนับสนุนให๎ห๎องสมุดประชาชนทุกแหํงพัฒนารับหนังสือผําน QR Code
๒.๕ สอดคล้องมาตรฐาน กศน.
มาตรฐานที่ 1 ตัวบํงชี้ที่ 1.7 ผู๎รับบริการได๎รับความรู๎และ/หรือประสบการณ์จากการเข๎ารํวม
กิจกรรม/โครงการ การศึกษาตามอัธยาศัย
มาตรฐานที่ ๒ ตัวบํงชี้ที่ 2.8 คุณภาพผู๎จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย
ตัวบํงชี้ที่ 2.9 คุณภาพกระบวนการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย
ลักษณะโครงการ
โครงการตํอเนื่อง โครงการใหมํ
3. หลักการและเหตุผล
การอําน เป็นวัฒนธรรมในการแสวงหาความรู๎ของประชากรทุกคน ปัจจุบันสังคมโลกเป็นสังคมแหํงการ
เรียนรู๎และการแขํงขัน การอํานจึงเป็นวิธีการที่จะชํวยให๎ประชากรได๎รับความรู๎ ข๎อมูลขําวสาร และ แนวคิดใหมํๆ
อันจะเป็นการพัฒนาตนเองและรู๎จักปรับตัวให๎อยูํในสังคมอยํางมีความสุข ประเทศไทยตระหนัก ถึงความส าคัญ
ดังกลําวและให๎การสํงเสริมสนับสนุนมาอยํางตํอเนื่อง อีกทั้งยังมีหนํวยงานทุกภาคสํวนรํวมกันจัดกิจกรรมและ
รณรงค์สํงเสริมการอําน กอปรกับรัฐบาลได๎ก าหนดนโยบายปฏิรูปการศึกษาทั้งในด๎านคุณภาพ ประสิทธิภาพ
มาตรฐานและความเหลื่อมล้ าทางการศึกษา โดยมุํงแก๎ปัญหาเรื่องคุณภาพ โอกาส และประสิทธิภาพในการจัด
การศึกษาเพื่อตอบสนองตํอความต๎องการของประเทศ โดยให๎มีความเชื่อมโยงและสํงผลดี ตํอการพัฒนาประเทศ
ด๎านตําง ๆ อยํางตํอเนื่อง (ที่มา: นโยบายด๎านการศึกษาของนายกรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา : ๒๕๕๙)
และยุทธศาสตร์๒๐ ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหํงชาติ ฉบับที่ ๑๒ แผนการศึกษาชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ –
๒๕๗๙ แผนแมํบทสํงเสริมวัฒนธรรมการอํานสูํสังคมแหํงการเรียนรู๎ของไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ นโยบาย
กระทรวงศึกษาธิการ และนโยบายส านักงาน กศน.
ครอบครัว เป็นสถาบันที่เล็กที่สุด แตํมีบทบาทที่ยิ่งใหญํที่สุดในการสํงเสริมนิสัยรักการอําน เพราะเสียงที่
ลูกได๎ยิน กับอ๎อมกอดที่อบอุํนจากพํอแมํ เป็นสิ่งที่ส าคัญที่สุดที่ลูกพึงจะได๎รับ ดังนั้น ครอบครัวจึงเป็นสถาบันแรกที่
จะก๎าวเข๎าไปถึงในเรื่องของการปลูกฝังนิสัยรักการอํานให๎แกํเด็กๆ บุคคลในครอบครัวไมํวําจะเป็น พํอแมํ ปูุยํา ตา
ยาย ล๎วนมีสํวนส าคัญเป็นอยํางยิ่งในการสํงเสริมให๎ลูกหลานรักการอํานโดยเริ่มต๎นจากการอําน “หนังสือส าหรับ
เด็ก” หรือ “หนังสือนิทาน” ให๎เด็กฟัง เพราะหนังสือเหลํานี้มีถ๎อยค าและจังหวะที่ไพเราะ อํอนหวาน นุํมนวล และ
มีภาพประกอบสีสันสวยสดงดงามเป็นสิ่งกระตุ๎นความสนใจเด็กได๎เป็นอยํางดี และที่ส าคัญครอบครัวจะต๎องจัด
สภาพแวดล๎อมให๎เด็กได๎สัมผัสกับ “การอําน” อยูํเสมอๆ ในชีวิตประจ าวัน พํอแมํหรือบุคคลในครอบครัวเป็น
แบบอยํางการอํานที่ดี แล๎วเด็กจะซึมซับนิสัยรักการอํานตั้งแตํเด็ก ปัญหาส าคัญที่ท าให๎เด็กไทยไมํรักการมีหลายๆ
ปัจจัย เชํน ขาดตัวอยํางที่ดี คือ เมื่อผู๎ใหญํไมํอําน เด็กก็ไมํอํานตามไปด๎วย ไมํมีนิสัยรักการอําน แม๎หนังสือและ
อื่นๆ มากมายให๎เรียนรู๎ แตํนิสัยของคนไทยชอบฟังและพูดมากกวําการอําน เข๎าไมํถึงหนังสือ เชํน เด็กชนบท เด็ก
ด๎อยโอกาส ไมํมีหนังสืออําน ไมํชอบ ไมํอยากอําน นี่คือ ประเด็นส าคัญที่จะแก๎ไขได๎ยากมากๆ ในการสํงเสริมนิสัย
รักการอํานนั้น ต๎องสร๎างรูปแบบทางสังคมที่ดี กระตุ๎นทุกภาคสํวนในสังคม ในครอบครัว กระตุ๎นให๎พํอแมํและ
สมาชิกทุกคนอํานหนังสือ ถ๎าพํอแมํอําน ครูอําน ผู๎ใหญํในสังคมอําน เด็กและเยาวชนก็จะอํานตาม”
กศน.อ าเภอเมืองปัตตานี ได๎ตระหนักถึงความส าคัญดังกลําว จึงด าเนินการจัดท าโครงการ “ครอบครัวรัก
การอําน” ขึ้นเพื่อสํงเสริมให๎บุคลากร และนักศึกษา กศน. อ าเภอเมืองปัตตานี มีนิสัยรักการอําน โดยสามารถน า
“เฉลิมราชกุมารี”อ าเภอเมืองปัตตานี | ครอบครัวรักการอ่าน 3